ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สมบูรณาญาสิทธิราชย์

แนวคิด-ปรัชญา
26
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เสนอข้อเท็จจริงเรื่องการร่วมกับสายนายทหารผู้ใหญ่และเชิญพระยาพหลพลพยุหเสนาเป็นหัวหน้าคณะราษฎร และวิจารณ์กรณีที่ ร.ท.ประยูรฯ เล่าว่าได้ “ชักจูง” ปรีดีให้คิดอภิวัฒน์เพื่อตอบโต้การบิดเบือนทั้ง 2 กรณีในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ
บทบาท-ผลงาน
21
พฤศจิกายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เสนอประเด็นสำคัญคือ ปัญหาเศรษฐกิจของสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ผ่านการประวัติศาสตร์ของฝรั่งเศสในยุคพระเจ้าหลุยส์ที่ 16 ที่ไม่ได้มีการวางแผนเศรษฐกิจไว้ล่วงหน้าจนทำให้ราษฎรต้องอดอยากนำไปสู่การล่มสลายในที่สุด และได้เสนอการแก้ไขเศรษฐกิจผ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจ (สมุดปกเหลือง) ตามแนวทางของหลัก 6 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2567
แนวคิดราษฎรของปรีดี พนมยงค์ โดยได้เปรียบเทียบกับแนวคิดราษฎรก่อนและหลังการอภิวัฒน์สยาม และแสดงให้เห็นว่าราษฎรของปรีดีมีความเชื่อมโยงกับการที่ราษฎรมีสิทธิ เสรีภาพ เสมอภาค และภราดรภาพซึ่งแตกต่างจากแนวคิดราษฎรก่อนการอภิวัฒน์
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2567
เอกสารการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 แม้จะเรียกว่า "รัฐธรรมนูญ" แต่มุ่งเน้นการรวมอำนาจไว้ที่พระมหากษัตริย์และชนชั้นสูง สะท้อนลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มากกว่าระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเอกสารอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงเปลี่ยนผ่านได้ดียิ่งขึ้น
31
มีนาคม
2567
วันที่ 23 มีนาคม 2567 ที่ผ่านมา รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ได้ให้สัมภาษณ์รายการย้อนอดีตสู่อนาคต FM96.5 ประเด็นต่อเนื่องเกี่ยวกับการชี้แจงข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเหตุการณ์ อภิวัฒน์สยาม 2475 จากสัปดาห์ที่ผ่านมา
บทบาท-ผลงาน
28
มีนาคม
2567
ปรีดีพนมยงค์ทราบเรื่องร่าง พ.ร.บ. เทศบาล ในฐานะผู้ช่วยเลขานุการ แต่การพิจารณาล่าช้าด้วยความซับซ้อน ประสบปัญหาข้อขัดแย้งจากต่างประเทศ และไม่มีอำนาจกำหนดลำดับการพิจารณากฎหมายนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มีนาคม
2567
โครงการดุสิตธานีและร่างกฎหมายพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2473 เป็นความพยายามของชนชั้นนำในสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ แต่ยังไม่ใช่การปกครองท้องถิ่นแบบประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ เนื่องจากยังคงเน้นการรวมศูนย์อำนาจ ไม่ได้กระจายอำนาจไปสู่ประชาชนอย่างแท้จริง
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2567
การก่อตั้งคณะราษฎรที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองในปีพ.ศ. 2475 เริ่มต้นจากการรวมตัวของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดที่ต้องการพัฒนาประเทศให้นำไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2566
งานวิจัยดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ เรื่อง “เสรีนิยมธรรมราชา: พลวัตแห่งอำนาจระหว่างสถาบันกษัตริย์กับสถาบันแนวประชาธิปไตยในโครงการจำกัดเสียงข้างมาก (พ.ศ. 2540-2560)” โดย อ.ปฤณ เทพนรินทร์ กล่าวถึงลักษณะสำคัญใหม่ของฟากฝั่งอนุรักษนิยมไทยที่ปรับเปลี่ยนตนเองอย่างมีพลวัต
Subscribe to สมบูรณาญาสิทธิราชย์