ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กุมภาพันธ์
2565
นโม พุทฺธาย  ดูกรท่านสาธุชนทั้งหลาย  วันนี้วันที่ 25 กุมภาพันธ์ พุทธศักราช 2479 เป็นศุภดิถีมงคลสมัย วันมาฆบูชาจาตุรงคสันนิบาต สมาชิกพุทธธรรมสมาคมได้มาชุมนุมพร้อมกันเพื่อบำเพ็ญกุศลตามคตินิยม
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2565
โครงการขุดคลองเชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไทยเป็นโครงการขนาดใหญ่โครงการหนึ่งที่ถูกพูดถึงในทุกยุคสมัยตลอดหน้าประวัติศาสตร์ไทยที่ผ่านมาตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
8
กุมภาพันธ์
2565
-๒- ในระหว่าง พ.ศ. ๒๔๗๘ ขณะที่ข้าพเจ้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กรมโยธาเทศบาลสมัยนั้น (ที่ได้ตั้งขึ้นโดยรวมกรมทางกับกรมนคราทรเข้าเป็นกรมเดียวกัน มีหน้าที่ในการทางทั่วราชอาณาจักร และการคมนาคมส่วนท้องถิ่น) ได้จัดร่างโครงการทางทั่วราชอาณาจักรตามคำสั่งของข้าพเจ้า เสร็จแล้ว ได้เสนอร่างโครงการนั้นมายังข้าพเจ้าเพื่อพิจารณา 
แนวคิด-ปรัชญา
27
มกราคม
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' ได้เขียนบันทึกถึงท่าทีของประเทศมหาอำนาจสัมพันธมิตรอันเนื่องมาจากการกระทำของรัฐบาลไทย ภายใต้การนำของจอมพล ป. พิบูลสงคราม
บทบาท-ผลงาน
22
มกราคม
2565
ช่วงวันที่ 10-11 สิงหาคม พ.ศ. 2478 ปรากฏข่าวคราวหนึ่งแพร่กระจายสู่ความรับรู้ของผู้พำนักอยู่ในรัฐปีนัง (Penang) เขตดินแดนมลายู จนสร้างความตื่นเต้นและตื่นตัวเป็นอันมาก นั่นคือกรณีที่ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม หรือ นายปรีดี พนมยงค์ ขณะดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย จะออกเดินทางจากเมืองไทยมาแวะเยือนถิ่นปีนัง โดยเฉพาะความเคลื่อนไหวของกลุ่มเจ้านายเดิมสมัยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ต้องลี้ภัยทางการเมือง 
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2565
ต้นแบบการทำงานของอิสสระ  อิสสระ มีนายปรีดี พนมยงค์ (คุณลุง) เป็นต้นแบบในการทำงาน ในการเป็นผู้ประพฤติธรรม เป็นหัวหน้าครอบครัวที่ดี เป็นนักประชาธิปไตย เป็นนักวิชาการด้านกฎหมายมหาชนที่มองการณ์ไกล มีความสามารถ รอบรู้ มีความซื่อสัตย์สุจริต อุทิศตนและทำประโยชน์ให้แก่ประเทศ
ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่ 
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2564
การริเริ่มวางนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นครั้งแรกภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามในปี พ.ศ. 2475
ชีวิต-ครอบครัว
14
พฤศจิกายน
2564
เดือนมีนาคม พ.ศ. 2475 นายปรีดี พนมยงค์ ตัดสินใจเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจในชื่อ "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" หรือเรียกขานกันว่า "สมุดปกเหลือง"
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
พฤศจิกายน
2564
คุณผู้อ่านที่เคยศึกษาเรื่องราวของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ หรือ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ อาจจะนึกสงสัยครามครัน เมื่อเห็นการนำเสนอถึงการปฏิบัติหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของนายปรีดี
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม