ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่ 
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2564
การริเริ่มวางนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นครั้งแรกภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครองสยามในปี พ.ศ. 2475
ชีวิต-ครอบครัว
14
พฤศจิกายน
2564
เดือนมีนาคม พ.ศ. 2475 นายปรีดี พนมยงค์ ตัดสินใจเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจในชื่อ "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" หรือเรียกขานกันว่า "สมุดปกเหลือง"
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
พฤศจิกายน
2564
คุณผู้อ่านที่เคยศึกษาเรื่องราวของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ หรือ ‘หลวงประดิษฐ์มนูธรรม’ อาจจะนึกสงสัยครามครัน เมื่อเห็นการนำเสนอถึงการปฏิบัติหน้าที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมของนายปรีดี
บทบาท-ผลงาน
23
ตุลาคม
2564
ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะราษฎรพยายามผลักดันให้มีการวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่อย่างเป็นประชาธิปไตย จึงมุ่งเน้นกระจายอำนาจการปกครองจากส่วนกลางไปยังส่วนท้องถิ่น
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
ตุลาคม
2564
ไม่นานมานี้ ผมเห็นข่าวการเปิดตัว “บันทึกของนายเตียง ศิริขันธ์” ที่ค้นพบจากแฟ้มเอกสารลับของ OSS ในหอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NARA) ประกอบกับได้มีหนังสือเรื่อง  จากแฟ้มเอกสารลับที่สุด : เผย “ข้อมูลใหม่” ทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ของหอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NARA)  ผลงานของ 'พันเอก ดร.สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ' ตีพิมพ์เผยแพร่ออกมากลางปี พ.ศ. 2564 ซึ่งในหนังสือเล่มนี้นำเอาบันทึกที่เชื่อว่าเขียนโดยนายเตียงมาเปิดเผยไว้อย่างสมบูรณ์
บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2564
ทำไมพวกเขาต้องถูกกระทำความรุนแรงขนาดนั้น ทั้งที่แค่ไปยืนคล้องแขนเพื่อที่จะทำกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ แค่นั้นเอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
“กบฏบวรเดช” เป็นเรื่องที่สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่าและระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จากข้อกล่าวหาคอมมิวนิสต์ จากการทำรัฐประหาร 20 มิถุนายน 2476 และที่สำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่ 
บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2564
ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ได้ปรากฏกระแสความตื่นตัวและให้ความสนใจต่อสิ่งที่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญ” ในหมู่ประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2564
แนวคิดและปณิธาน “รัฐบาลกับราษฎรเป็นคู่มือร่วมกัน” ช่างน่าครุ่นคิด โดยเฉพาะความตอนหนึ่งคือ “...รัฐบาลกับราษฎรไม่ใช่คู่อริหรือคู่แข่งขันกัน แต่เป็นคู่ร่วมคิดร่วมมือกันปฏิบัติงานของชาติ...” อีกทั้งยังควรโยงใยมาเตือนสติรัฐบาลหรือผู้คนแห่งยุคสมัยปัจจุบันให้ตระหนักว่า ไม่ควรทำตนเป็นศัตรูกับประชาชน!
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม