หลวงประดิษฐ์มนูธรรม
บทความ • บทบาท-ผลงาน
23
ตุลาคม
2564
ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง คณะราษฎรพยายามผลักดันให้มีการวางรูปแบบการปกครองในระบอบใหม่อย่างเป็นประชาธิปไตย จึงมุ่งเน้นกระจายอำนาจการปกครองจากส่วนกลางไปยังส่วนท้องถิ่น
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
16
ตุลาคม
2564
ไม่นานมานี้ ผมเห็นข่าวการเปิดตัว “บันทึกของนายเตียง ศิริขันธ์” ที่ค้นพบจากแฟ้มเอกสารลับของ OSS ในหอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NARA) ประกอบกับได้มีหนังสือเรื่อง จากแฟ้มเอกสารลับที่สุด : เผย “ข้อมูลใหม่” ทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ของหอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NARA) ผลงานของ 'พันเอก ดร.สรศักดิ์ งามขจรกุลกิจ' ตีพิมพ์เผยแพร่ออกมากลางปี พ.ศ. 2564 ซึ่งในหนังสือเล่มนี้นำเอาบันทึกที่เชื่อว่าเขียนโดยนายเตียงมาเปิดเผยไว้อย่างสมบูรณ์
บทความ • บทสัมภาษณ์
13
ตุลาคม
2564
ทำไมพวกเขาต้องถูกกระทำความรุนแรงขนาดนั้น ทั้งที่แค่ไปยืนคล้องแขนเพื่อที่จะทำกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ แค่นั้นเอง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2564
“กบฏบวรเดช” เป็นเรื่องที่สืบเนื่องมาจากความขัดแย้งระหว่างระบอบเก่าและระบอบใหม่ จากข้อโต้แย้งในเรื่องเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จากข้อกล่าวหาคอมมิวนิสต์ จากการทำรัฐประหาร 20 มิถุนายน 2476 และที่สำคัญที่สุดคือข้อโต้แย้งในเรื่องพระเกียรติยศและพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์ในระบอบใหม่
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2564
ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ได้ปรากฏกระแสความตื่นตัวและให้ความสนใจต่อสิ่งที่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญ” ในหมู่ประชาชน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2564
แนวคิดและปณิธาน “รัฐบาลกับราษฎรเป็นคู่มือร่วมกัน” ช่างน่าครุ่นคิด โดยเฉพาะความตอนหนึ่งคือ “...รัฐบาลกับราษฎรไม่ใช่คู่อริหรือคู่แข่งขันกัน แต่เป็นคู่ร่วมคิดร่วมมือกันปฏิบัติงานของชาติ...” อีกทั้งยังควรโยงใยมาเตือนสติรัฐบาลหรือผู้คนแห่งยุคสมัยปัจจุบันให้ตระหนักว่า ไม่ควรทำตนเป็นศัตรูกับประชาชน!
บทความ • บทบาท-ผลงาน
14
กันยายน
2564
ในการที่จะพิสูจน์ว่ารัฐธรรมนูญเป็นประชาธิปไตยหรือไม่ หากในรายละเอียดว่าถือมติปวงชนเป็นใหญ่และให้สิทธิของมนุษยชนแก่ประชาชน รัฐธรรมนูญฉบับนั้นนับว่าเป็นประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
12
กันยายน
2564
ข้อมูลว่าด้วยนายปรีดีตัวปลอมได้รับการเปิดเผย โดยรายงานว่ามีนายทหารญี่ปุ่นชื่อ มัสสุตะ อ้างตัวว่าตนคือ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ จะขอเข้าพบเผชิญหน้ากับ ‘จอมพล ป. พิบูลสงคราม’ ณ บ้านซอยชิดลม
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2564
พวกเรากับปาล พนมยงค์ รู้จักกันครั้งแรกในรั้วโดมธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2489 ในฐานะนักเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองรุ่นเดียวกัน
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม
9
กันยายน
2564
‘คุณปาล พนมยงค์’ เป็นบุตร ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ปี พ.ศ. 2500 คุณปาล พนมยงค์ ได้มาอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ โดยท่านผู้หญิงพูนศุขผู้เป็นมารดาได้นำไปมอบฝากถูกต้องตามระเบียบและพระธรรมวินัยทุกประการ ข้าพเจ้าเป็นพระอุปัชฌายะ ครั้นอุปสมบทแล้วพระภิกษุปาลก็ได้พักศึกษาปฏิบัติพระพุทธศาสนาอยู่ ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ จนกระทั่งลาสิกขา