ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2565
คดีฟ้องร้อง 'นายฉ่ำ จำรัสเนตร' อดีตครูประชาบาลผู้สนับสนุน "คณะราษฎร" และ "การอภิวัฒน์สยาม 2475" อย่างแข็งขัน ในเวลาต่อมา จากผู้ทำงานด้านการศึกษาแต่เมื่อลงสู่สนามการเมือง ครูฉ่ำก็ได้รับเลือกจากประชาชนและกลายมาเป็นผู้แทนราษฎรจังหวัดนครศรีธรรมราช ทว่า ด้วยพฤติการณ์ที่ไม่เหมือนข้าราชการคนอื่นๆ เขาจึงถูกกล่าวหาว่าเป็นผู้มีความวิกลจริต
บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ตุลาคม
2565
การพัฒนาความรู้กฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พ.ศ. 2515 - 2550) ดร.อิสสระมุ่งมั่นที่จะให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษา เพื่อพัฒนากฎหมายมหาชนในประเทศไทย แม้ว่าภารกิจราชการที่สำนักงบประมาณจะหนัก แต่ ดร.อิสสระก็ได้สละเวลาพักผ่อนส่วนตัวไปเป็นอาจารย์พิเศษและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตั้งแต่ปี 2515 จนกระทั่งในปี 2550 ที่ร่างกายไม่เอื้ออำนวยให้ทำงานได้ ทั้งนี้ ในปี 2515 กฎหมายมหาชนยังเป็นเรื่องใหม่มาก และการเรียนการสอนสาขากฎหมายมหาชนยังมีจำกัดในประเทศไทย  
บทบาท-ผลงาน
28
กันยายน
2565
ความพยายามในการบรรยาย “กฎหมายปกครอง” ในปี 2474 ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม ในยุคสมัยซึ่งการเรียนการสอนกฎหมายของประเทศไทย ได้รับอิทธิพลจากระบบกฎหมายอังกฤษที่ไม่มีการแบ่งแยกกฎหมายมหาชนและกฎหมายปกครองออกมาอย่างชัดเจน
บทบาท-ผลงาน
17
กันยายน
2565
ภายหลังเดินทางกลับจากประเทศฝรั่งเศสหวนคืนสู่สยามอันเป็นบ้านเกิดเมืองนอน ในปี พ.ศ. 2469 นายปรีดี พนมยงค์ เข้ารับราชการตำแหน่งผู้พิพากษาประจำกระทรวงยุติธรรมและเป็นอาจารย์สอนโรงเรียนกฎหมาย
บทบาท-ผลงาน
27
สิงหาคม
2565
ท่าทีของสหรัฐอเมริกาต่อการรับรองสถานะของขบวนการเสรีไทย ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ โทรเลขจาก 'คอร์เดลล์ ฮัลล์' รมว.ต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ถึง พันเอก กูลเฟลโลว์ รวมไปถึงข้อสังเกตของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกากับไทยผ่านโทรเลขฉบับดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
25
สิงหาคม
2565
โทรเลขของรัฐมนตรีต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ถึงเอกอัครรัฐทูตสหรัฐอเมริกาประจำอังกฤษ ซึ่งเป็นสาสน์ถึงนายปรีดีเพื่อแนะนำในถึงการประกาศโมฆะสงคราม
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนนำเสนอเรื่องราวการเคลื่อนไหวของภารกิจสำคัญในประวัติศาสตร์ คือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านหลักฐานร่วมสมัยทางประวัติศาสตร์ คือ บันทึกโมฆสงคราม อันเป็นเอกสารที่ช่วยขยายเพดานความรู้เกี่ยวกับบริบททางการเมืองของโลกและไทยท่ามกลางไฟสงครามโลกครั้งที่ 2
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม