เกร็ดประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2563
เมื่อเอ่ยถึง "ทวี บุณยเกตุ" หลายคนอาจนึกถึง "นายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งสั้นที่สุด" หรือนายกขัตตาทัพที่รอ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช อัครราชทูตไทยที่สหรัฐอเมริกา กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
2
สิงหาคม
2563
"สำคัญที่เกียรติ" คือ หลักการในชีวิตของนายดิเรก ชัยนาม ผู้ก่อการ 2475 กำลังสำคัญของขบวนการเสรีไทย นักการทูตผู้โดดเด่น และนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นคนซื่อสัตย์สุจริต
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
สิงหาคม
2563
กล่าวได้ว่า กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “อีสาน” ดูจะโดดเด่นเป็นพิเศษในฐานะที่พยายามทําหน้าที่เป็นตัวแทนของ คนส่วนใหญ่ จาก “วงนอก” และจาก “ชายขอบ” เป็นปากเสียงและต่อรองให้ผู้ที่อยู่นอกศูนย์กลางของอํานาจ (กรุงเทพฯ)
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
31
กรกฎาคม
2563
“หัวเมืองไม่ได้รับการบำรุงอย่างใดเลย ปล่อยตามธรรมชาติ แต่มองดูมณฑลชั้นในโดยเฉพาะจังหวัดพระนคร จะเห็นว่าถูกบำรุงอย่างฟุ่มเฟือย ในเมื่อเทียบกันข้อนี้ชาวหัวเมืองได้พร่ำร้องมานานนักหนาแล้ว”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
กรกฎาคม
2563
“ข้าพเจ้าขอส่งผู้แทนมาพบท่าน เพื่อขอให้ท่านรับรองรัฐบาลพลัดถิ่นที่เราจะตั้งขึ้นในดินแดนกลุ่มประเทศสัมพันธมิตร เพราะมาตรการนี้จะเป็นหนทางเดียวที่จะกระตุ้นคนไทยให้หลุดพ้นจากการรุกรานของญี่ปุ่น”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กรกฎาคม
2563
“ข้าพเจ้ามีเลือดนักสู้อย่างพร้อมบูรณ์ และเตรียมพร้อมทุกอย่างเพื่อการต่อสู้ และได้เรียนรู้ไว้ว่าจะสู้จนโลหิตหยดสุดท้าย ข้าพเจ้าจะต้องรักษาคำพูดประโยคนี้ไว้อย่างมั่นคง”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
23
กรกฎาคม
2563
นายเตียง ศิริขันธ์ ผู้แทนราษฎรจังหวัดสกลนครเป็นเสรีไทยที่มีผลงานโดดเด่นที่สุดผู้หนึ่งจนกระทั่งได้รับสมญาว่า “ขุนพลภูพาน”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
กรกฎาคม
2563
นายธนิต อยู่โพธิ์ อดีตอธิบดีกรมศิลปากร เล่าความทรงจำถึงนายปรีดี พนมยงค์ ว่าด้วยทัศนะทางการศึกษา เมื่อดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2563
ตามที่ปุถุชนทั้งหลาย มีลูกหลานเป็นต้นหรือลูกหลานมิตรสหายมาปรารภวันเกิดของตนก็ตาม หรือของท่านที่เคารพนับถือของตนก็ตาม ก็เสมือนหนึ่งเป็นการให้ได้มีโอกาสสอบสวนชีวิตของคนแต่ละท่านว่าที่ล่วงลับล่วงเลยไปแล้วนั้น เราได้ดําเนินชีวิตไปเหมาะสมแค่ไหน เพียงใด
ทั้งนี้ก็เพื่อว่า เมื่อว่าชีวิตของเราดําเนินมาในทางที่ไม่ดี เราจะได้แก้ไขปรับปรุงให้มันดีขึ้น หรือเมื่อเห็นว่าชีวิตของเราดําเนินดีถูกต้องอยู่แล้ว ก็อย่าได้ดีใจแต่ให้เพียรทําความดีสืบต่อไป นี่ก็เป็นจุดมุ่งหมายที่คาดคะเนว่าคงจะปรารถนาเช่นนี้จึงได้มีการบําเพ็ญกุศลเนื่องในวันสําคัญของตน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กรกฎาคม
2563
ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา หากจะถามหาสามัญชนที่เป็นอัจฉริยะและรัตนบุรุษ ผู้สร้างคุณูปการต่อชาติและศาสนา ทั้งในฝ่ายฆราวาสและบรรพชิตแล้ว นายปรีดี พนมยงค์และท่านพุทธทาสภิกขุ ย่อมอยู่ในฐานะอันโดดเด่น ควรแก่การยกย่อมอย่างแท้จริง ทั้งความรู้ ความสามารถ ความเสียสละ ความสะอาดบริสุทธิ์ ความซื่อสัตย์สุจริตและความเห็นการณ์ไกล ซึ่งประวัติศาสตร์ชาติไทยจักต้องจารึกความสำคัญของท่านทั้งสองไว้นานเท่านาน