ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
2
ธันวาคม
2563
แม้เป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า หลวงประดิษฐ์มนูธรรมเป็นผู้ร่างปฐมรัฐธรรมนูญนี้ แต่หลายคนคงยังไม่ทราบว่า หลวงประดิษฐ์ฯ ใช้ให้ นายชุบ ศาลยาชีวิน เป็นผู้พิมพ์ดีดร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ขึ้นมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ธันวาคม
2563
ความฝันถึงการมีรัฐธรรมนูญเป็นหลักในการปกครองประเทศปรากฏขึ้นก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครองในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ราวกึ่งศตวรรษ ดังมีคำกราบบังคมทูลของเจ้านายและขุนนางถึงพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวใน ร.ศ. 103 เป็นตัวอย่าง
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
พฤศจิกายน
2563
เป็นที่ทราบกันดีว่า นายปรีดี พนมยงค์ เป็นชาวจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เกิดที่นี่ เติบโตที่นี่ และผูกพันกับจังหวัดบ้านเกิดนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2563
นายปรีดี พนมยงค์ เข้าเรียนชั้นมัธยมที่โรงเรียนตัวอย่างมณฑลกรุงเก่า ใน พ.ศ. 2455 เลขประจำตัว 791 ซึ่งเวลานั้นตั้งอยู่ในบริเวณวัดเสนาสนาราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤศจิกายน
2563
หลังจากเด็กชายปรีดี พนมยงค์ เข้าเรียนที่โรงเรียนวัดไม้รวก ซึ่งใกล้กับบ้านน้าที่ไปอาศัยอยู่ด้วยแล้ว ปรีดีได้ย้ายกลับมาอยู่ที่บ้านเดิมบริเวณวัดพนมยงค์ และเข้าศึกษาต่อที่โรงเรียนวัดศาลาปูน
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
พฤศจิกายน
2563
มีเกร็ดที่น่าสนใจจากคำบอกเล่าของนางน้อม ตามสกุล น้องสาวของนายปรีดีว่า "พี่ปรีดีเป็นเด็กหัวดี … เรียนได้เดือนสองเดือนก็รู้แล้ว … อ่านได้แล้ว … แต่ก็เป็นเด็กที่ซนที่สุด … เป็นผู้นำในหมู่พี่น้อง … ชอบคิดชอบทำอะไรแปลก ๆ"
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
พฤศจิกายน
2563
ชีวิตของปรีดีระหว่างเรียนหนังสือในวัยเยาว์ดูเหมือนไม่ค่อยเป็นที่รับทราบกว้างขวางเท่าไหร่ แต่ก็ใช่ว่าจะปราศจากความน่าค้นหาเสียเลย มิหนำซ้ำ ยังชวนให้ถวิลเห็นแง่มุมใหม่ ๆ ที่ผู้ศึกษาชีวประวัติของปรีดีอาจไม่รู้สึกมักคุ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
พฤศจิกายน
2563
นายปรีดีเขียนขยายความไว้ด้วยว่า "ถ้าหนังสือเล่มนั้นยังอยู่ที่ทายาทท่านผู้นี้ ก็คงจะพบว่า หนังสือนั้นไม่มีปกหน้า เพราะข้าพเจ้าฉีกเผาไฟแล้วเพื่อความปลอดภัย"
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤศจิกายน
2563
จุดเริ่มต้นของการก่อสร้างเริ่มตั้งแต่เมื่อใด ที่ดินเดิมเป็นของใคร เรือนไทยสองหลังในอนุสรณ์สถานมาจากไหน ร่วมหาคำตอบได้จากบทความของ 'ดุษฎี พนมยงค์'
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2563
อ่านชีวประวัติของนายเสริม วินิจฉัยกุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เสรีไทย ซึ่งเคยเป็นผู้ช่วยจัดทำตำรา ม.ธ.ก. ต่อได้ที่บทความเรื่องนี้ของ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์