ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
14
ธันวาคม
2563
ปฐมรัฐธรรมนูญฉบับนี้นั้นเป็นรัฐธรรมนูญที่อาจารย์ปรีดีได้ร่างขึ้นด้วยตนเอง รัฐธรรมนูญได้บรรจุไว้ซึ่งความคิดและความใฝ่ฝันของนักกฎหมายหนุ่มคนหนึ่งในขณะนั้น
บทบาท-ผลงาน
13
ธันวาคม
2563
อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงข้อค้นพบในงานวิจัย (Key Finding) ที่น่าสนใจ 12 ประการ จากการศึกษาจากงานวิจัยเรื่อง พัฒนาการของระบบทุนนิยม กลุ่มทุนและผู้ใช้แรงงานในสมัยรัชกาลที่ 7 ซึ่งทำร่วมกับ ธำรงศักดิ์ เพ็ชรเลิศอนันต์
บทบาท-ผลงาน
11
ธันวาคม
2563
บางส่วนจากปาฐกถานำของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ เรื่อง "รัฐธรรมนูญประชาชน: ทางออกจากวิกฤตการณ์เศรษฐกิจและการเมืองในระยะเปลี่ยนผ่าน"
บทบาท-ผลงาน
9
ธันวาคม
2563
กลไกการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย ในรัฐธรรมนูญอุดมคติของปรีดี สะท้อนผ่าน (1) การได้มาซึ่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องมีความเป็นประชาธิปไตย (2) การแยกข้าราชการประจำออกจากฝ่ายการเมือง (3) นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และ (4) การมีองค์กรตรวจสอบที่มีความเป็นอิสระและเป็นกลาง
บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2563
บางส่วนจากข้อสังเกตของศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ ถึงรัฐธรรมนููญในอุดมคติของปรีดี พนมยงค์ ว่าด้วยสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาค
บทบาท-ผลงาน
6
ธันวาคม
2563
ปี 2475 เป็นปีที่มีความพยายามที่จะสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญขึ้นในเมืองไทยอย่างจริงจังเป็นครั้งแรก (หลังจากได้มีการพูดถึงเรื่องระบอบนี้มาเป็นระยะเวลานานถึง 3 รัชกาล ตั้งแต่รัชกาลที่ 5-6-7)
บทบาท-ผลงาน
4
ธันวาคม
2563
ซึ่งการประนีประนอมที่สำคัญ คือ การทำให้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่คณะราษฎร โดยหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) กลายเป็นฉบับชั่วคราวไป
บทบาท-ผลงาน
24
พฤศจิกายน
2563
หลังจากเปลี่ยนแปลงการปกครองแล้ว ปรีดียังดำเนินการอีกหลายประการเพื่อให้สยามบรรลุหลัก 6 ประการที่ได้ประกาศไว้
บทบาท-ผลงาน
19
พฤศจิกายน
2563
ท่านปรีดีเห็นถึงความจําเป็นที่ต้องมีศาลปกครองแยกจากศาลยุติธรรมด้วย ดังปรากฏในข้อความเบื้องต้นของคําอธิบายกฎหมายปกครอง
บทบาท-ผลงาน
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
Subscribe to บทบาท-ผลงาน