ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2565
ความพยายามในการสร้างรัฐประชาธิปไตยด้วยการสถาปนารัฐสมัยใหม่ของนายปรีดี พนมยงค์ ภายใต้บทบาทและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองครั้งสำคัญนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 และการสานต่อเจตนารมณ์แห่งการอภิวัฒน์ภายหลังจากนายปรีดีขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489
บทบาท-ผลงาน
7
กันยายน
2565
เมื่อ ปรีดี พนมยงค์ ก้าวขึ้นมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ่งแรกๆ ที่ปรีดีให้ความสำคัญ คือ การสานต่อเจตนารมณ์ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
บทบาท-ผลงาน
27
สิงหาคม
2565
ท่าทีของสหรัฐอเมริกาต่อการรับรองสถานะของขบวนการเสรีไทย ผ่านหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นสำคัญ คือ โทรเลขจาก 'คอร์เดลล์ ฮัลล์' รมว.ต่างประเทศสหรัฐอเมริกา ถึง พันเอก กูลเฟลโลว์ รวมไปถึงข้อสังเกตของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อการดำเนินนโยบายระหว่างประเทศของสหรัฐอเมริกากับไทยผ่านโทรเลขฉบับดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
25
สิงหาคม
2565
โทรเลขของรัฐมนตรีต่างประเทศ สหรัฐอเมริกา ถึงเอกอัครรัฐทูตสหรัฐอเมริกาประจำอังกฤษ ซึ่งเป็นสาสน์ถึงนายปรีดีเพื่อแนะนำในถึงการประกาศโมฆะสงคราม
บทบาท-ผลงาน
24
สิงหาคม
2565
ฐานคิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ว่าด้วยการดำเนินนโยบายการต่างประเทศ คือ "ความเป็นกลาง" อันเป็นฐานคิดซึ่งอยู่ภายใต้กรอบหลักการสำคัญ คือ "แนวคิดสันติภาพ" โดยทัศนะดังกล่าวแสดงออกผ่านบทสัมภาษณ์ซึ่งเป็นการสนทนาระหว่างนายปรีดีกับสำนักข่าวไทยและต่างประเทศ ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
บทบาท-ผลงาน
16
สิงหาคม
2565
16 สิงหาคม 2488 นายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในรัชกาลที่ 8 ได้ออก “ประกาศสันติภาพ” อันมีใจความสำคัญว่าการประกาศสงครามต่อบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 นั้น “เป็นโมฆะ” ไม่ผูกพันกับประชาชนชาวไทย เนื่องจากเป็นการกระทำอันผิดจากเจตจำนงของประชาชนชาวไทย และขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมายบ้านเมือง
บทบาท-ผลงาน
11
สิงหาคม
2565
ผู้เขียนนำเสนอเรื่องราวการเคลื่อนไหวของภารกิจสำคัญในประวัติศาสตร์ คือ "ขบวนการเสรีไทย" ภายใต้การนำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านหลักฐานร่วมสมัยทางประวัติศาสตร์ คือ บันทึกโมฆสงคราม อันเป็นเอกสารที่ช่วยขยายเพดานความรู้เกี่ยวกับบริบททางการเมืองของโลกและไทยท่ามกลางไฟสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาท-ผลงาน
5
สิงหาคม
2565
ภายหลังที่ชาติไทยถูกรุกล้ำอธิปไตยโดยจักรวรรดิญี่ปุ่น หนึ่งในข้อตกลงที่เกิดขึ้นระหว่างชาติผู้รุกรานและรัฐบาลในขณะนั้น คือการใช้พื้นที่ของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองให้เป็นพื้นที่สำหรับกักกันพลเมืองจากประเทศฝ่ายสัมพันธมิตร
บทบาท-ผลงาน
4
สิงหาคม
2565
การเคลื่อนพลของกองทัพญี่ปุ่นที่ใกล้ประชิดสยามในทุกขณะ คือเหตุการณ์สำคัญที่กำลังอยู่ในความสนใจและเป็นที่จับตามองของชาวไทยทุกคน รวมไปถึงคนไทยในต่างแดน
บทบาท-ผลงาน
31
กรกฎาคม
2565
เกร็ดประวัติศาสตร์ระหว่าง 'เปรม บุรี' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ท่ามกลางบรรยากาศงานสังสรรค์ภายหลังสิ้นสุดสงครามของเหล่าผู้กล้าเสรีไทยสายต่างประเทศ ณ บ้านถนนตก พร้อมด้วยเรื่องราวเส้นทางการเข้าร่วมขบวนการเสรีไทยของสองพี่น้องตระกูลบุรี คือ 'เปรม' และ 'รจิต'
Subscribe to บทบาท-ผลงาน