ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อคราวรั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กับการร้องเรียนและขอความช่วยเหลือโดยกลุ่มแขกเจ้าเซ็น กรณีปัญหาความกังวลเกี่ยวกับศาสนวัตถุพระปั้นหย่า ซึ่งมีทีท่าว่าจะถูกปลอมแปลง จนอาจส่งผลต่อความเลื่อมใสของศาสนิกชน
บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2566
เรื่องราวของประเทศไทยในช่วงภาวะการประกาศสงครามของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยผู้เขียนได้หยิบยกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความผิดอันร้ายแรงในการที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามอันเป็นสิ่งที่ละเมิดต่ออำนาจนิติรัฐภายในประเทศ
บทบาท-ผลงาน
28
ธันวาคม
2565
"เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" ผลงานจากปลายปากกาของ 'หฤษฎ์ มหาทน' หรือ 'StarlessNight' หนึ่งในนักโทษทางความคิดของรัฐไทย โดยผู้เขียนได้ทบทวน "อุดมการณ์ทางการเมือง" และ "ความมุ่งมาดปรารถนา" ของหฤษฎ์ที่ได้ถ่ายทอดลงสู่ทุกๆ ตัวอักษร จนวรรณกรรมเล่มดังกล่าวได้กลายเป็นอาวุธทางความคิดเพื่อปลูกฝังคุณค่าของประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
27
ธันวาคม
2565
27 ธันวาคม 2554 - 2565 11 ปี แห่งอนิจกรรมของ "ศาสตราจารย์ กนต์ธีร์ ศุภมงคล" อดีตเอกอัครราชทูตประจำกรุงลอนดอน และวีรชนเสรีไทย ซึ่งบอกเล่าการดำเนินงานกิจการเสรีไทยในฐานะนักการทูตใต้ดิน เมื่อคราวสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาท-ผลงาน
10
ธันวาคม
2565
10 ธันวาคม พ.ศ. 2485 "สถาปนาธนาคารชาติ" อันเกิดจากความพยายามของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ธนาคารชาติบังเกิดขึ้นด้วยกิจการพัฒนาชาติเพื่อเพิ่มหลักประกันความมั่นคงทางการเงินและทุนสำรองของประเทศ อีกทั้งในการดังกล่าวนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจาก "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" เพื่อเป็นกลไกสำคัญทางเศรษฐกิจแก่ความผาสุกของชาติและพลเมือง
บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2565
8 ธันวาคม 2488 มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ยกย่อง “นายปรีดี พนมยงค์” ไว้ในฐานะ “รัฐบุรุษอาวุโส”
บทบาท-ผลงาน
29
พฤศจิกายน
2565
ห้วงยามอันสำคัญเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้กลายเป็นเรื่องราวที่ควรจารึกไว้ถึงภารกิจที่นำไปสู่สันติภาพของขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังได้ก่อเกิดประวัติศาสตร์ของภูมิภาคและท้องถิ่นในหลายจังหวัด ดั่งเช่นอนุสรณ์แห่งความทรงจำ "ถนนเสรีไทย" ณ จังหวัดตาก เพื่อเป็นเกียรติแด่วีรชนและเล่าขานความหาญกล้าไปยังอนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป
บทบาท-ผลงาน
28
พฤศจิกายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' หนึ่งในผู้ร่วมเดินทางได้จรดปลายปากกาเขียนบอกเล่าเรื่องราวการเยือนถิ่นประวัติศาสต์อันปรากฏร่องรอยของขบวนการเสรีไทยในพื้นที่จังหวัดตาก ณ หมู่บ้านชุมชนเล็กๆ คือ "ตรอกบ้านจีน" พร้อมด้วยชีวประวัติย่อของ 'นายหมัง สายชุ่มอินทร์' คหบดีผู้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร และหัวหน้าเสรีไทยแห่งเมืองตาก
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
บทบาท-ผลงาน
10
พฤศจิกายน
2565
คดีกบฏที่หนังสือพิมพ์เรียกกันว่า “กบฏ 10 พฤศจิกา” ซึ่งเปนเรื่องครึกโครมตั้งแต่วันจับกุมจนถึงวันนี้นั้น ภายหลังที่ผู้ต้องหาได้เปิดเผยความจริงบางประการของกระบวนการสอบสวนขึ้นที่ศาลแล้ว ประชาชนที่ไปฟังคำแถลง และได้อ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ที่พากันขนานนามกบฏชุดนี้ว่า กบฏสันติภาพบ้าง, กบฏปอลิโอบ้าง, กบฏแฟนซีบ้าง, กบฏสงเคราะห์ประชาชนบ้าง, กบฏเสรีภาพบ้าง, กบฏหนังสือพิมพ์บ้าง รวมทั้งกบฏอิสานสัมพันธ์ เมื่อตำรวจได้จับกุมนักศึกษา ม.ธ.ก. รุ่นเยาว์อีกชุดหนึ่งที่ร่วมกันจัดงานรื่นเริงนักศึกษาชาวอิสานและได้ออกหนังสืออิสานสัมพันธ์มาคุมขังไว้
Subscribe to บทบาท-ผลงาน