ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2565
๑. ช่วงพุทธศักราช ๒๔๕๕-๒๔๘๔ ร.ศ. ๑๓๐ (พุทธศักราช ๒๔๕๔) พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ รัชกาลที่ ๖ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้หลวงวิชิตสรไกรไปรับราชการในตำแหน่งเจ้าเมืองจังหวัดสมุทรปราการ และพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น “พระสมุทรบุรานุรักษ์” (ขำ) พระสมุทรบุรานุรักษ์ บิดาของข้าพเจ้า ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาวรุณฤทธีศรีสมุทรปราการ พระยาเพชรฎา และ พระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา ตามลำดับ
แนวคิด-ปรัชญา
5
มกราคม
2565
“สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนีเป็นรัฐประชาธิปไตยและเป็นสังคมรัฐ” (Die Bundesrepublik Deutschland ist ein demokratischer und sozialer Bundesstaat.)
ชีวิต-ครอบครัว
4
มกราคม
2565
ข้าพเจ้าเกิดเมื่อวันที่ ๒ มกราคม ๒๔๕๕ ตรงกับวันอังคาร ขึ้น ๑๔ ค่ำ เดือนอ้าย ปีกุน ที่จวนผู้ว่าราชการจังหวัดสมุทรปราการริมน้ำ เยื้องพระสมุทรเจดีย์ เป็นบุตรมหาอำมาตย์ตรีพระยาชัยวิชิตวิศิษฏ์ธรรมธาดา และคุณหญิงเพ็ง
2
มกราคม
2565
ปฏิทินชีวิตพูนศุข พนมยงค์ 2455 - 2550 (คลิกดูภาพขนาดใหญ่)  
1
มกราคม
2565
สารอวยพรปีใหม่ 2565 เนื่องในศุภวาระดิถีขึ้นปีใหม่ พุทธศักราช 2565 ผมในนามของคณะกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ขอส่งความปรารถนาดีมายังแฟนเพจของสถาบันปรีดี พนมยงค์ ผู้รักประชาธิปไตย และ ยึดมั่นในสันติธรรมทุกท่าน
บทบาท-ผลงาน
29
ธันวาคม
2564
ประชาธิปไตยกับภาคธุรกิจ ไม่บ่อยครั้งนักที่คำว่า “ธุรกิจ” และ “ประชาธิปไตย” จะถูกนำมาใช้ร่วมกันในประโยคเดียวกัน แต่อย่างไรก็ตาม มันก็มีความเชื่อมโยงที่แน่นแฟ้นระหว่างทั้งสองคำนี้ ซึ่งในประเทศที่พัฒนาแล้วส่วนใหญ่มักจะมีธุรกิจของภาคเอกชนที่ดำเนินงานอย่างเข้มแข็ง ในขณะที่ประเทศที่ด้อยพัฒนากว่ามักจะประสบปัญหาจากภาคเอกชนที่อ่อนแอและการผูกขาดจากหน่วยงานภาครัฐและรัฐวิสาหกิจ จึงได้เกิดมีงานวิจัยที่มีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งและกำลังทำการศึกษาอยู่โดยมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด (Harvard Business School) ที่ได้พิจารณาถึงความสัมพันธ์หว่างภาคธุรกิจและแนวคิดระบอบประชาธิ
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2564
“รัฐธรรมนูญ อันเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์” “เพาะความเลื่อมใสในรัฐธรรมนูญ” “ปกป้องรัฐธรรมนูญ”
27
ธันวาคม
2564
วันที่ 26 ธันวาคม 2564 นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ ในฐานะตัวแทนทายาทนายปรีดี พนมยงค์ มอบรางวัล “ช้างเผือก” แก่ผู้ชนะการประกวดหนังสั้น ในพิธีการประกาศผลรางวัลเทศกาลภาพยนต์สั้นครั้งที่ 25 (25th Thai Short Film and Video Festival) ซึ่งเป็นเทศกาลภาพยนตร์ที่จัดต่อเนื่องยาวนานที่สุดของประเทศไทย โดยหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) และ มูลนิธิหนังไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
ธันวาคม
2564
เมื่อบาดเจ็บสาหัสจากคมกระสุนที่ยิงมาจากฐานปืนกลประจำเครื่องบินสปิตไฟร์ในศึกป้องกันเมืองท่าแขก และเข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลนครพนมอยู่ระยะหนึ่ง เจ้าสุพานุวงจึงเดินทางเข้าบางกอกพร้อมเจ้าเวียงคำชายาเพื่อรักษาตัวเพิ่มเติม ศัลยแพทย์ฝีมือดีที่สุดคนหนึ่งทำหน้าที่ดูแลท่านในขณะนั้นคือ นายแพทย์บรรจง กรลักษณ์
ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่