ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทบาท-ผลงาน
22
พฤษภาคม
2563
การเปลี่ยนแปลงการปกครองยังไม่ทันผ่านพ้นข้ามปี อาจารย์ปรีดีก็สามารถก่อตั้ง “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง” ขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2476 ในฐานะผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย อาจารย์ปรีดีได้แถลงถึงเจตนารมณ์ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้เอาไว้ว่า เพื่อจะได้ช่วยบำบัดความกระหายการศึกษาของราษฎรโดยทั่วไป
บทสัมภาษณ์
21
พฤษภาคม
2563
ในระหว่างที่นายปรีดี พนมยงค์ พักอยู่ในฝรั่งเศส มิตรเก่าของท่านคนหนึ่ง คือ ลอร์ดหลุยส์ เมาท์แบ็ตแต้น เอิร์ลออฟเบอร์ม่า อดีตแม่ทัพใหญ่ภาคเอเซียอาคเณย์ของสัมพันธมิตร ในสงครามโลกครั้งที่สอง และอดีตอุปราชแห่งอินเดียคนสุดท้าย ได้เชิญนายปรีดีพร้อมด้วยท่านผู้หญิงพูนศุข ให้ไปเยือนประเทศอังกฤษ
บทสัมภาษณ์
19
พฤษภาคม
2563
สัมภาษณ์และเรียบเรียงโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
บทบาท-ผลงาน
18
พฤษภาคม
2563
ดร. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา ที่มา: ไทยแลนด์ 13-19 พฤษภาคม 2526 ข้าพเจ้าทราบข่าวการถึงแก่มรณกรรมของท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ขณะเดินทางอยู่ที่จังหวัดตรัง กำลังสัมภาษณ์ท่านผู้เฒ่าคนหนึ่งในหมู่บ้านแห่งอำเภอย่านตาขาว ผู้ที่แจ้งข่าวแก่ข้าพเจ้าเป็นลูกชายของท่านผู้เฒ่า นักเรียนเตรียมธรรมศาสตร์สมัยก่อน ข้าพเจ้าเสียใจอย่างยิ่งเมื่อทราบข่าวนี้ อาจารย์ได้ทำคุณประโยชน์ใหญ่หลวงต่อสังคมไทย เป็นผู้นำการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพและอำนาจอธิปไตยให้เป็นของราษฎร เป็นผู้ทำให้ไทยเริ่มปกครองในระบอบประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
พฤษภาคม
2563
ขอนำเกร็ดประวัติเรื่องวัดพนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งเป็นบ้านเกิดของนายปรีดี พนมยงค์ มาเล่าสู่กันฟังอีกครั้ง ที่มา: หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน ฉบับวันที่ 15 พฤษภาคม 2526 “เวลาอาตมาเข้ากรุงเทพฯ พอบอกว่าอยู่ที่วัดพนมยงค์ คนชอบร้องว่า อ้อ… วัดปรีดี พนมยงค์นั่นเอง จริงๆ ไม่ใช่หรอก วัดพนมยงค์เป็นวัดเก่าแก่มานมนานแล้ว ทางปรีดีเขามาเอาชื่อวัดไปเป็นชื่อนามสกุลอีกทีหนึ่งต่างหาก” พระเกษม อติเมโธ ผู้ช่วยเจ้าอาวาสวัดพนมยงค์เล่าให้ฟัง
บทสัมภาษณ์
15
พฤษภาคม
2563
ที่มา: นสพ.ผู้จัดการ 11/05/2543 บทสัมภาษณ์นี้มีขึ้นเมื่อ สุวัฒน์ ทองธนากุล ได้มีโอกาสไปกราบท่าน ปรีดี พนมยงค์ ณ บ้านชานกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อเดือนกันยายน พ.ศ. 2518 ในฐานะบรรณาธิการข่าวหนังสือพิมพ์ประชาธิปไตย ขณะที่เดินทางไปถึงบ้านพักของท่านรัฐบุรุษอาวุโส ซึ่งมีความเป็นอยู่แบบเรียบง่ายแต่น่าอยู่ มีบรรยากาศของผู้ทรงภูมิรู้ และมีเมตตาธรรม เนื่องจากเป็นเวลาค่ำจึงได้รับความกรุณาให้พักค้างคืน โชคดียิ่งกว่านั้น ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ยังได้กรุณาปรุงข้าวต้มเครื่องให้รับประทานอีกด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
พฤษภาคม
2563
เสี้ยวหนึ่งแห่งความทรงจำ[1] คุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ[2]      
บทสัมภาษณ์
13
พฤษภาคม
2563
“แต่ที่สำคัญที่สุดก่อนที่จอมพลป.จะถึงแก่อสัญกรรม จอมพลป.ได้เขียนจดหมายฉบับหนึ่งถึงนายปรีดี จดหมายนี้มีความสำคัญมาก ผมพยายามจะค้นว่าต้นฉบับอยู่ที่ไหน ตอนลงท้ายของจดหมาย จอมพลป.เขียนเป็นภาษาอังกฤษ ว่า “พลีส อโหสิ” คืออโหสิกรรมนะครับ ซึ่งสำคัญมาก และหลังจากนั้นไม่นานจอมพลป.ก็ถึงแก่อสัญกรรม” บางส่วนจากบทสัมภาษณ์ ศุขปรีดา พนมยงค์ ในรายการสภาท่าพระอาทิตย์ เมื่อวันที่ 9 พฤษภาคม 2546 ดำเนินรายการโดย คำนูณ สิทธิสมาน และ ขุนทอง ลอเสรีวานิช
บทสัมภาษณ์
13
พฤษภาคม
2563
บางส่วนจากบทสัมภาษณ์ในรายการสภาท่าพระอาทิตย์ โดย คำนูณ สิทธิสมาน และขุนทอง ลอเสรีวานิช เรื่อง นายปรีดี พนมยงค์ ในโอกาสครบรอบวันถึงแก่อสัญกรรม เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม 2546 คำนูณ – เข้าสู่สภาท่าพระอาทิตย์ในช่วงชั่วโมงสุดท้ายนะครับอย่างที่ผมเกริ่นไว้ตั้งแต่ต้นว่า วันนี้วันที่ 2 พ.ค. ก็เป็นวันคล้ายวันถึงแก่อสัญกรรม ของท่านปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ท่านจากโลกนี้ไปเมื่อวันที่ 2 พ.ค. 2526 จนบัดนี้ก็ 20 ปีเต็ม