ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทบาท-ผลงาน
2
เมษายน
2566
อ่านจุดเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ระหว่าง 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านข้อเขียนเรื่อง "รัฐบุรุษอาวุโสกลับคืนสู่มาตุภูมิ" และ "การลาออกของนายปรีดี" บทความของกุหลาบซึ่งได้ตีพิมพ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2490
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนย้อนลำดับเหตุการณ์ มูลเหตุสำคัญของการรัฐประหารครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เมื่อวันที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2476
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2566
ชวนอ่านกลวิธีที่นำไปสู่การรัฐประหารครั้งแรกของไทย โดย 'พระยามโนปกรณ์นิติธาดา' โดยอาศัยช่องว่างในขณะที่ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" ข้อเสนอโดย 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งอยู่ในขั้นตอนการทบทวนพิจารณาเชิงหลักการและฐานความคิดต่อที่ประชุมคณะรัฐมนตรี
แนวคิด-ปรัชญา
31
มีนาคม
2566
118 ปี ชาตกาล กุหลาบ สายประดิษฐ์ เจ้าของนามปากกา 'ศรีบูรพา' ย้อนอ่าน ผ่านเรื่อง "หนังสือพิมพ์ในประเทศประชาธิปไตย"
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2566
อ่านฐานคิดว่าด้วยแบ่งเขตในสนามการเลือกตั้งของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านจดหมายถึง 'นายสุกิจ นิมมานเหมินท์' พื่อชวนพิจารณาข้อดีและข้อด้อยผ่านการวิเคราะห์เชิงสถิติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้การลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งสะท้อนตามเจตนารมณ์ตามจริงของราษฎรไทย โดยมีกฎกติกาและหลักการที่เป็นธรรมในขั้นตอนการแบ่งเขตการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
29
มีนาคม
2566
135 ปี ชาตกาล พระยาพหลพลพยุหเสนา กับคำปราศรัยที่ได้แสดงไว้ต่อปวงชน เมื่อคราวระบอบประชาธิปไตยปักหลักลงรากสู่แผ่นดินสยามได้ครบเป็นปีที่ 4 เรื่อง "การปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ"
ศิลปะ-วัฒนธรรม
26
มีนาคม
2566
กิจวัตรประจำวันของนายปรีดี พนมยงค์ กับความโปรดปรานในการรับชมภาพยนตร์แนวสารคดีประวัติศาสตร์ หากการรับชมนั้นนายปรีดียังได้ฝากทรรศนะวิจารณ์ไว้ได้อย่างแยบคาย โดยเฉพาะเมื่อนายปรีดีได้รับชมภาพยนตร์แนวบุกเบิกตะวันตก
ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
มีนาคม
2566
"Little Women" The Broadway Musical จากอมตะวรรณกรรมของโลกซึ่งในครั้งนี้ถูกร้อยเรียงและอวดสู่สายตาผู้ชมในรูปแบบของละครเวที เพื่อให้ผู้ชมได้ร่วมค้นหาความหมายของชีวิตระหว่างเส้นทางที่ต้องเติบโตไปพร้อมๆ กับสี่สาวจากตระกูล March ผ่านบทเพลง เสียงร้อง และการแสดง พร้อมพูดคุยผ่านบทสัมภาษณ์ของคนเบื้องหลังซึ่งบอกเล่าเส้นทางและการทำงานที่กว่าจะมาเป็นละครมิวสิคัลที่เฉิดฉายได้อย่างประณีต
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มีนาคม
2566
เกร็ดประวัติศาสตร์ของความพยายามในการส่งเสริมให้ราษฎรไทยสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาได้อย่างเสมอภาค ผ่านมุมมองการก่อตั้ง "นิคมนักศึกษามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง" อันเป็นสถานที่ที่สะท้อนถึงความก้าวหน้าของความเป็นสมัยใหม่ซึ่งเต็มไปด้วยความผูกพันของนิสิตนักศึกษาในช่วงเวลาดังกล่าว