ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2566
เอกชัย ไชยนุวัติ ชวนสำรวจนิยามของประชาธิปไตย รวมไปถึงหนทางสำหรับการต่อต้านระบอบเผด็จการ ผ่านการสถาปนาอำนาจอธิปไตย กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และ ฝ่ายตุลาการ อันมีหัวใจสำคัญที่ยึดโยงกับประชาชน ในฐานะเจ้าของอำนาจ ด้วยหลักการห่วงโซ่แห่งความชอบธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2566
ในบทความนี้ ชวนผู้อ่านร่วมค้นหาคำตอบของคำถามที่ว่า "ทำไมแนวทางสันติวิธีจึงเป็นสิ่งสำคัญในสนามการเมือง" โดยพิจารณาจากบทเรียนทางการเมืองและแนวทาง "สันติวิธี" (Nonviolent Action) ในฐานะเครื่องมือเพื่อโค่นล้มนักเผด็จการทั้งหลายที่กดขี่ข่มเหงประชาชน
บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนย้อนไปสู่การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 5/2481 (สามัญ) สมัยที่ 2 ชุดที่ 3 ซึ่งปรากฏการตั้งกระทู้ถามตอบในกรณีการขายเงินเหรียญบาทออกนอกประเทศ ของ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2566
โฮจิมินห์กับชีวิตในสหภาพโซเวียต เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีมาร์กซ์-เลนิน เมื่อได้เข้าทำงานที่องค์กรคอมมิวนิสต์สากล (Communist International / Comintern) โฮจิมินห์มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและถกปัญหาต่อประเด็นต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2566
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้บรรยายความรู้สึกเมื่อครั้งเข้าร่วมการพิจารณาคดีสวรรคต ณ ศาลอาญา ในปี พ.ศ. 2491 โดยบอกเล่าสิ่งที่ตนสัมผัสได้จากทั้งสามจำเลย คือ ความสุขุม ความสงบ และความไม่หวั่นเกรงภัยใดๆ เพราะทั้งสามนั้นเชื่อมั่นในความยุติธรรมและความบริสุทธิ์ของตนเองอย่างแน่นหนัก
บทบาท-ผลงาน
16
กุมภาพันธ์
2566
แนวคิดการขุด "คอคอดกระ" หรือที่ประชาชนชาวไทยในปัจจุบันรู้จักในนาม "คลองไทย" ของ 'นายปรีดี พนมยงค์' เมื่อครั้งรั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยผู้เขียนยังได้ยกเอาข้อเขียนของนายปรีดีซึ่งแสดงทัศนะต่อการขุดคลองคอคอดกระไว้ในต้นทศวรรษ 2500
แนวคิด-ปรัชญา
15
กุมภาพันธ์
2566
ข้อจำกัดของความพยายามในการต่อสู้แบบสันติวิธี คือ ความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ ล้วนมีบ่อเกิดเกี่ยวเนื่องมาจาก "ระบอบอำนาจนิยม" พร้อมทั้งข้อแตกต่างระหว่างการใช้ความรุนแรงกับแนวสันติวิธีสำหรับการขับเคลื่อนข้อเรียกร้องของประชาชน ทั้งในแง่ของเป้าหมาย ทัศนคติ หลักการ ตลอดจนวิธีการ
แนวคิด-ปรัชญา
14
กุมภาพันธ์
2566
สันติวิธีเพื่อให้ได้มาซึ่งประชาธรรมของมวลชนนั้น เป็นหนทางที่มิอาจจะละทิ้งหรือละเลยได้ ดั่งเช่นที่ "ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์" ได้ยึดมั่นและให้ความสำคัญตลอดมาท่ามกลางความผันผวนทางการเมืองไทย นับตั้งแต่วันนั้นจนกระทั่งปัจจุบัน "สันติประชาธรรม" ของศ.ดร.ป๋วย ยังคงเป็นแนวทางที่ส่งต่อไปยังอนุชนรุ่นหลังให้ตระหนักถึงปลายทางอันถาวรของเสรีภาพที่มีจุดกำเนิดตั้งต้นด้วยสันติวิธี
แนวคิด-ปรัชญา
13
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงกฎหมายรัฐธรรมนูญมาตรา 51 ซึ่งได้สถาปนาสิทธิของประชาชนที่รัฐพึงปฏิบัติ รวมไปถึงกระบวนการการเรียกร้องความคุ้มครองหากรัฐมิปฏิบัติหรือดำเนินการล่าช้า ทว่าขั้นตอนดังกล่าวกลับนำไปสู่การตั้งคำถามต่อ "อำนาจสูงสุด" ระหว่างแนวทางปฏิบัติและตามตัวบททฤษฎี
บทบาท-ผลงาน
12
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงบทบาทของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผ่านการกำหนดพื้นที่สำหรับการสร้าง "ป่าช้าสุเหร่าบางลาว" ในละแวกตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในย่านดังกล่าว