ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2565
เนื่องในวาระคล้ายวันเกิด 16 กรกฎาคม ของ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ บุตรสาวคนสุดท้องของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่ได้รับมรดกทางความคิดและนิสัยรักในความรู้ทางประวัติศาสตร์คล้ายปรีดี พนมยงค์ บิดา
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
กรกฎาคม
2565
นายสุภา ศิริมานนท์ ผู้เป็นกัลยาณมิตร (15 กรกฎาคม 2457 - 15 มีนาคม 2529)
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
กรกฎาคม
2565
สะพานปรีดี-ธำรง เริ่มสร้างในเดือนสิงหาคม ปี พ.ศ. 2483 แล้วเสร็จภายใน 3 ปี และเปิดใช้วันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2486 ซึ่งตรงกับวันเกิดของจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2565
นับแต่ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้เกิดกระแสความตื่นตัวของหลากหลายกลุ่มคนที่แสดงความนิยมยินดีและส่งเสริมสนับสนุนต่อระบอบประชาธิปไตย มุ่งมั่นเทิดทูนรัฐธรรมนูญ รวมถึงศรัทธาในหลักการของ คณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
12
กรกฎาคม
2565
การศึกษาประวัติศาสตร์คณะราษฎรในมุมมองใหม่เริ่มต้นราวปลายทศวรรษ 2520 ทั้งมีงานเชิงวิชาการที่เสนอการตีความเหตุการณ์ 24 มิถุนายน 2475 จากฝ่ายที่เห็นด้วยและเห็นต่างไว้ 4 รูปแบบ
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2565
ห้วงเวลาก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ปรากฏความตื่นตัวของกลุ่มคนในสังคมไทยจำนวนไม่น้อยที่ปรารถนาให้ประเทศของพวกตนได้ปกครองตามระบอบรัฐธรรมนูญแทนที่ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ยิ่งเฉพาะในกลุ่มของผู้ทำงานด้านกฎหมายเยี่ยงพวกทนายความแล้ว ก็จะแสดงออกความคิดเห็นและเคลื่อนไหวเรียกร้องให้บ้านเมืองมีสิ่งที่เรียกว่า “ประชาธิปไตย” อย่างแข็งขัน
9
กรกฎาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ติดตามข่าวการเสียชีวิตของอดีตนายกรัฐมนตรี ฯพณฯ ชินโซ อาเบะ ในขณะกล่าวปราศรัยหาเสียง และขอประณามการกระทำอันอุกอาจ ป่าเถื่อน ที่ส่งผลกระทบอย่างร้ายแรงต่อหลักนิติธรรมและเสรีภาพในระบอบประชาธิปไตย ขอแสดงความเสียใจอย่างสุดซึ้งต่อครอบครัวผู้สูญเสียและประชาชนชาวญี่ปุ่นสำหรับการสูญเสียอันใหญ่หลวงที่เกิดขึ้นนี้
บทบาท-ผลงาน
9
กรกฎาคม
2565
โอวาทของผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2482 ปรีดี พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
8
กรกฎาคม
2565
“ข้าพเจ้าใคร่ที่จะกล่าวด้วยความรู้สึกอันแท้จริงอีกอย่างหนึ่งว่า พร้อมกับที่เราชื่นชมยินดีในรัฐธรรมนูญอันเปนที่รักของเรานี้ เราควรมีความรู้สึกขอบคุณ ‘คณะราษฎร’ ผู้พลีชีพเข้าทำการเปลี่ยนแปลงการปกครองจนได้รัฐธรรมนูญอันนี้มาสมตามความประสงค์ ด้วย.” พุทธทาสภิกขุ