ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

9
กันยายน
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดอบรมภายใน เรื่อง Tech Update & Digital Marketing Trend ให้กับทีมงานสถาบันปรีดี พนมยงค์ เมื่อที่ 9 กันยายน 2565 โดย คุณอริยะ พนมยงค์
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2565
9 กันยายน พ.ศ. 2524 เป็นวันที่ ‘ปาล พนมยงค์’ บุตรชายคนโตของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ได้จากไปอย่างสงบ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
8
กันยายน
2565
เสียงจาก "ชนเผ่าพื้นเมือง" ผู้เรียกร้องสิทธิและเสรีภาพพึงมีในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของพลเมืองแห่งรัฐ ผ่านบรรยากาศของกิจกรรม "วันชนเผ่าพื้นเมือง" อันเป็นเวทีสาธารณะให้กับทุกคนร่วมทำความเข้าใจต่อประเด็นวิถีชีวิตและสิทธิมนุษยชนของชนเผ่าพื้นเมือง โดยใช้พลังทางวัฒนธรรม คือ soft power ซึ่งแสดงถึงอัตลักษณ์และตัวตนในรูปแบบต่างๆ เช่น คีตศิลป์ นาฏศิลป์ ศิลปะ และภาพยนตร์ เป็นต้น
บทบาท-ผลงาน
7
กันยายน
2565
เมื่อ ปรีดี พนมยงค์ ก้าวขึ้นมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในช่วงเวลาหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ่งแรกๆ ที่ปรีดีให้ความสำคัญ คือ การสานต่อเจตนารมณ์ของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2565
'นายปรีดี พนมยงค์' เคยกล่าวคำปราศรัยต่อธรรมศาสตร์บัณฑิตและและเนติบัณฑิต นักสันติภาพ เมื่อวันที่ 28 ก.ค. 2514 ณ ชานกรุงปารีส โดยมีใจความถึงเรื่องราวที่พึงระลึกอันเป็นความหลังเมื่อครั้งที่บัณฑิตทั้งหลายได้ประสิทธิ์ประสาทความรู้ ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
4
กันยายน
2565
การสนับสนุนอุตสาหกรรมเกมเพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ประเทศ ท่ามกลางการขยายตัวของอุตสาหกรรมเกมของโลกและไทย โดยในปี 2564 อุตสาหกรรมเกมมีมูลค่าทั่วโลกอยู่ราวๆ 175.8 พันล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐฯ ซึ่งมีมูลค่าสูงกว่าสื่อบันเทิงประเภทเพลงและภาพยนตร์ทั่วโลก 2-3 เท่า
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กันยายน
2565
13 มีนาคม ค.ศ. 1954 กระสุนปืนใหญ่ขนาด 105 ม.ม. ของกองกำลังเวียดมินห์ ได้เปิดฉากยิงถล่มที่มั่นของฝรั่งเศส
แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2565
หนึ่งในวิธีการสร้างวัฒนธรรมการอ่านที่แข็งแรง คือ การช่วยส่งเสริมให้ประชาชนสามารถเข้าถึงแหล่งการอ่านและหนังสือได้อย่างทั่วถึง
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2565
แม้จะมีบันทึกรายนามของวีรชนที่เสียชีวิตจากการปะทะกับกองทัพญี่ปุ่น แต่จากการค้นคว้าของผู้เขียนยังคงไม่ปรากฏเอกสารที่กล่าวถึงวีรกรรมการต่อสู้ของครูลำยองอย่างเป็นทางการ มีเพียงเรื่องเล่าจากผู้ที่อยู่ร่วมในช่วงเวลาเดียวกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กันยายน
2565
ในบทความนี้ ผู้เขียนเล่าถึงเหตุแห่งการยกฟ้องอาชญากรสงคราม อันเป็นผลจากการตีความตัวบทกฎหมายและการบังคับใช้ ส่งผลให้คำพิพากษาคดีอาชญากรสงครามในครั้งนั้น ศาลฎีกายกฟ้องจำเลยทั้งหมด 13 คน ข้อสรุปของคำพิพากษานำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์โต้แย้งในเชิงกฎหมายและการตีความในเชิงหลักการของศาลฎีกา