ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
14
ตุลาคม
2565
'ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ' ได้เขียนเล่าลำดับเหตุการณ์การเคลื่อนไหวของประชาชนซึ่งปรากฏการก่อตัวนับตั้งแต่ก่อนเหตุการณ์ '14 ตุลาฯ' อันถือเป็นบันทึกทางประวัติศาสตร์ที่บอกเล่าเรื่องราวความร่วมแรงร่วมใจของประชาชนทุกหมู่เหล่า ที่ต่อสู้เพื่อต่อต้านการผูกขาดอำนาจทางการเมืองของกองทัพ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
ตุลาคม
2565
การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยต้องทำอย่างไรเพื่อส่งต่ออุดมการณ์ให้คนรุ่นใหม่ปฏิบัติการได้สำเร็จ คือ โจทย์ที่เป็นหัวใจสำคัญของการเคลื่อนไหวในแต่ละก้าวของคนรุ่นต่อรุ่นและ ศิลปะ ยังคงทำหน้าที่เป็นส่วนประสานผ่านหลายแขนงอย่างเข้มแข็งตลอดมา
แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2565
เมื่อเข้าสู่ช่วงเดือนตุลาคม เหตุการณ์สำคัญที่จะต้องหยิบมาพูดถึงคือ เหตุการณ์ในวันที่ 14 ตุลาคม และ 6 ตุลาคม ซึ่งเป็นเหตุการณ์สำคัญในหน้าการเมืองไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งความเลวร้ายที่เกิดขึ้นในเหตุการณ์ทั้งสอง ซึ่งเป็นภาพสะท้อนของการลอยนวลพ้นผิดที่เกิดขึ้นในสังคมไทย ซึ่งการลอยนวลพ้นผิดนี้สร้างบาดแผลให้กับสังคมไทยในหลายๆ ด้าน ทั้งก่อให้เกิดความรู้สึกไม่เป็นธรรม อีกทั้งยังถ่างช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้กว้างขึ้น  
แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2565
การปฏิวัติ 2475 ได้สร้างสังคมใหม่ที่อำนาจสูงสุดการปกครองเป็นของพลเมืองทุกคนซึ่งครั้งหนึ่ง พวกเขาเป็นเพียงผู้อาศัยได้กลายมาเป็นเจ้าของประเทศนั้น การเปลี่ยนแปลงหลักการไปจากระบอบราชาธิปไตยหาได้รับการยอมรับจากกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง ผู้มีความคิดแบบอนุรักษนิยมที่เชื่อว่าความไม่เสมอภาคเป็นเรื่องธรรมชาติ สังคมไทยมีจารีตการปกครองโดยชนชั้นสูงมาตลอดประวัติศาสตร์ไม่สมควรเปลี่ยนแปลงให้กลับตาลปัตร จึงนำไปสู่การต่อต้านการปฏิวัติ 2475 โดยกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง หรือ กบฏบวรเดช (2476)[1]
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2565
เดือนตุลาคมของไทยทุกปี มักถูกจดจำทั้งในฐานะเดือนแห่งชัยชนะของประชาธิปไตย โดยมีเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อันเป็นการขับไล่ระบอบเผด็จการทหารเป็นจุดอ้างอิง ขณะเดียวกันก็มักเป็นเดือนแห่งความทรงจำว่าด้วยการก่ออาชญากรรมโดยรัฐ โดยมีเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เป็นสิ่งที่ให้หวนระลึกถึง 
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
ตุลาคม
2565
จากชัยชนะศึกเดียนเบียนฟู นำมาซึ่งข้อตกลงเจนีวา ปี ค.ศ. 1954 นั้น มีการระบุไว้ว่าปี ค.ศ. 1956 ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในเวียดนามภาคใต้ เพื่อตัดสินว่าจะเข้ารวมประเทศเป็นเอกภาพกับเวียดนามภาคเหนือ หรือจะให้เวียดนามภาคใต้ดำเนินรูปแบบการปกครองอย่างหนึ่งอย่างใด
แนวคิด-ปรัชญา
8
ตุลาคม
2565
เสวนา PINTO TALK 8 : 46 ปี 6 ตุลา 19 ในมุมมองของคนรุ่นใหม่ “เหลียวหลัง 6 ตุลา แลหน้าสังคมไทย” พร้อมกันนี้ ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล ชวนคุย ชวนคิด ในหัวข้อ “A Reflection on the Moment of Silence”
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
ตุลาคม
2565
'จำกัด พลางกูร' คือ ฟันเฟืองสำคัญของ "ขบวนการเสรีไทย" ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 แม้จะอยู่ในวัยหนุ่มและการสร้างครอบครัวอย่างใหม่หมาด แต่ได้อุทิศแรงกายและแรงใจบุกบั่นเพื่อหน้าที่จนลมหายใจสุดท้าย
6
ตุลาคม
2565
นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ ผู้แทนประธานมูลนิธิปรีดี พนมยงค์ และ รองศาสตราจารย์ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการสถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้เข้าร่วมในพิธีและร่วมวางหรีดรำลึก พร้อมด้วยองค์กรภาคประชาสังคม รวมถึงพรรคการเมืองต่างๆ