ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ชีวิต-ครอบครัว

แง่มุมชีวิตส่วนตัวและครอบครัวของปรีดี

ชีวิต-ครอบครัว
25
ธันวาคม
2564
ปลายทศวรรษ 2460 และต้นทศวรรษ 2470 ภายหลังที่ นายปรีดี พนมยงค์ สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกทางนิติศาสตร์จากประเทศฝรั่งเศส เขาหวนกลับมารับราชการในกระทรวงยุติธรรม มีบรรดาศักดิ์ “หลวงประดิษฐ์มนูธรรม” และได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์สอนหนังสือ ณ โรงเรียนกฎหมาย รับผิดชอบสอนวิชากฎหมายต่างๆ เช่น กฎหมายระหว่างประเทศ แผนกคดีบุคคล เป็นต้น ทั้งยังเริ่มริสอนวิชากฎหมายปกครอง และวิชากฎหมายรัฐธรรมนูญใช้ปกครองรัฐ อันถือเป็นวิชาแปลกใหม่สำหรับสังคมไทยยุคนั้น (ถ้าคุณผู้อ่านสนใจรายละเอียดเพิ่มเติม สามารถอ่านต่อที่ 
ชีวิต-ครอบครัว
27
พฤศจิกายน
2564
ถ้าจะถือเอาถ้อยคำบอกเล่าของ นายปรีดี พนมยงค์ มาพินิจพิจารณา ย่อมเผยให้ทราบว่า เขามิใช่บุคคลผู้สันทัดด้านการเล่นกีฬาเท่าไหร่นัก แม้ความไม่ถนัดนี้อาจดูเป็นเรื่องเล็กๆ แต่ก็มีแง่มุมเกี่ยวโยงกับบทบาททางการเมืองของนายปรีดีเช่นกัน ในข้อเขียน “ความเป็นไปภายในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์” นายปรีดีบอกเล่าไว้ตอนหนึ่งว่า
ชีวิต-ครอบครัว
14
พฤศจิกายน
2564
เดือนมีนาคม พ.ศ. 2475 นายปรีดี พนมยงค์ ตัดสินใจเสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจในชื่อ "พระราชบัญญัติว่าด้วยการประกันความสุขสมบูรณ์ของราษฎร" หรือเรียกขานกันว่า "สมุดปกเหลือง"
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤศจิกายน
2564
บ่ายวันที่ 7 พฤศจิกายน 2490 เป็นฤดูปลายฝนต้นหนาวอากาศกำลังเย็นสบาย ลมอ่อนๆ พัดโชยมาจากแม่น้ำเจ้าพระยาพระอาทิตย์ใกล้จะตกดิน ส่องประกายระยิบระยับบนผิวน้ำ เด็กผู้หญิงเล็กๆ สามสี่คนกำลังวิ่งเล่นที่สนามหญ้าบริเวณบ้าน ทุกอย่างเป็นปกติ บรรยากาศสงบนิ่งสวยงาม        
ชีวิต-ครอบครัว
17
ตุลาคม
2564
‘ผศ.ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์’ มีบทบาทสำคัญกับวงการตลาดหลักทรัพย์ไทย ในปี 2528 – 2535 เป็นช่วงสำคัญของการพัฒนาวงการตลาดหลักทรัพย์ไทยในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อ
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2564
พวกเรากับปาล พนมยงค์ รู้จักกันครั้งแรกในรั้วโดมธรรมศาสตร์ เมื่อ พ.ศ. 2489 ในฐานะนักเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองรุ่นเดียวกัน
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2564
‘คุณปาล พนมยงค์’ เป็นบุตร ฯพณฯ รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ กับ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ปี พ.ศ. 2500 คุณปาล พนมยงค์ ได้มาอุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ โดยท่านผู้หญิงพูนศุขผู้เป็นมารดาได้นำไปมอบฝากถูกต้องตามระเบียบและพระธรรมวินัยทุกประการ ข้าพเจ้าเป็นพระอุปัชฌายะ ครั้นอุปสมบทแล้วพระภิกษุปาลก็ได้พักศึกษาปฏิบัติพระพุทธศาสนาอยู่ ณ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ จนกระทั่งลาสิกขา
ชีวิต-ครอบครัว
23
สิงหาคม
2564
“เสรีไทยสายอังกฤษ” คนแรกที่ข้าพเจ้าจะพูดถึง ก็คือพ่อของข้าพเจ้า ‘หม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน’ ที่เรียกกันว่า “ท่านชิ้น” ผู้ซึ่งภายหลังได้รับการยอมรับและยกย่องให้เป็นหัวหน้าเสรีไทยสายอังกฤษ เนื่องจากผลงานที่สำคัญของท่าน 
ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2564
นี่เป็นบันทึกประโยคสุดท้ายด้วยลายมืออันสวยงามของคุณแม่ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ในวัยย่าง 96 ปี ที่เขียนไว้ในบันทึกประจำวันของท่าน
ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2564
จดหมายจากท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถึงหลานชาย
Subscribe to ชีวิต-ครอบครัว