ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทบาท-ผลงาน

บทบาทและผลงานของปรีดี

บทบาท-ผลงาน
5
มิถุนายน
2563
ข้าพเจ้าได้รับคำขอร้องจากบรรณาธิการบริหารของ ไทยแลนด์ ให้นำภาพของท่านปรีดีที่ถ่ายไว้เมื่อครั้งที่ข้าพเจ้าไปเยี่ยมเยือนท่านที่ประเทศฝรั่งเศส เมื่อพุทธศักราช 2524 เพื่อนำเสนอต่อท่านผู้อ่าน ดังที่ปรากฏอยู่ใน ไทยแลนด์ บางภาพ และพร้อมทั้งเรื่องเกี่ยวกับท่านปรีดีในความคิดคำนึงของข้าพเจ้า ในฐานะผู้ให้ความเคารพท่านปรีดีเยี่ยงวีรบุรุษตลอดมาตั้งแต่ท่านยังมีชีวิตอยู่และแม้ท่านถึงแก่อสัญกรรมไปแล้ว  
บทบาท-ผลงาน
2
มิถุนายน
2563
คำนำ ผลงานของท่านปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ที่เป็นรูปธรรมและเป็นประโยชน์ต่อชาติบ้านเมืองนั้นมีมากมาย และมีผู้เขียนเผยแพร่ไว้มาก แต่ผลงานของท่านเกี่ยวกับการริเริ่มเสริมสร้างอำนาจทางการคลังของรัฐสภา ซึ่งเป็นผลดีต่อการพัฒนาระบอบประชาธิปไตยของไทย ยังไม่มีใครเขียนมาก่อน เนื่องจากเป็นผลงานที่อยู่ในมุมอับ คือเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับเทคนิคการคลังและกฎหมายการคลัง ซึ่งโดยธรรมชาติเป็นเรื่องที่คนทั่วไปเข้าใจยากและเข้าไม่ถึง
บทบาท-ผลงาน
1
มิถุนายน
2563
ประเทศซึ่งปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยย่อมให้ความสำคัญและยอมรับว่าอำนาจสูงสุดในทางการคลังเป็นของรัฐสภา ด้วยเหตุที่ว่ารัฐสภาเป็นผู้แทนของประชาชน การจะเก็บและใช้จ่ายเงินงบประมาณจากภาษีของประชาชนต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภา  ในช่วงเริ่มต้นพัฒนาการประชาธิปไตยทางการคลังในประเทศไทยนั้น หลักการอำนาจสูงสุดในทางการคลังเป็นของรัฐสภาได้รับการสถาปนาขึ้นมาบ้างแล้ว แต่ยังไม่อ
บทบาท-ผลงาน
30
พฤษภาคม
2563
ข้าพเจ้ารู้จักนายพลตำรวจตรี พัฒน์ นีลวัฒนานนท์ เมื่อครั้งยังเป็นนายร้อยตำรวจตรี เริ่มสมัครเป็นนักเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมที่ข้าพเจ้าได้เป็นผู้สอนหลายวิชา คือ ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัท, กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล และกฎหมายปกครอง
บทบาท-ผลงาน
22
พฤษภาคม
2563
การเปลี่ยนแปลงการปกครองยังไม่ทันผ่านพ้นข้ามปี อาจารย์ปรีดีก็สามารถก่อตั้ง “มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง” ขึ้นเมื่อต้นปี พ.ศ. 2476 ในฐานะผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย อาจารย์ปรีดีได้แถลงถึงเจตนารมณ์ของการก่อตั้งมหาวิทยาลัยแห่งนี้เอาไว้ว่า เพื่อจะได้ช่วยบำบัดความกระหายการศึกษาของราษฎรโดยทั่วไป
บทบาท-ผลงาน
18
พฤษภาคม
2563
ดร. ฉัตรทิพย์ นาถสุภา ที่มา: ไทยแลนด์ 13-19 พฤษภาคม 2526 ข้าพเจ้าทราบข่าวการถึงแก่มรณกรรมของท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ขณะเดินทางอยู่ที่จังหวัดตรัง กำลังสัมภาษณ์ท่านผู้เฒ่าคนหนึ่งในหมู่บ้านแห่งอำเภอย่านตาขาว ผู้ที่แจ้งข่าวแก่ข้าพเจ้าเป็นลูกชายของท่านผู้เฒ่า นักเรียนเตรียมธรรมศาสตร์สมัยก่อน ข้าพเจ้าเสียใจอย่างยิ่งเมื่อทราบข่าวนี้ อาจารย์ได้ทำคุณประโยชน์ใหญ่หลวงต่อสังคมไทย เป็นผู้นำการเรียกร้องสิทธิเสรีภาพและอำนาจอธิปไตยให้เป็นของราษฎร เป็นผู้ทำให้ไทยเริ่มปกครองในระบอบประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2563
เนื่องในโอกาสครบรอบ 120 ปี ชาตกาลรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์
บทบาท-ผลงาน
7
พฤษภาคม
2563
ขบวนการเสรีไทยเกิดจากการรวมตัวของคนไทยทุกชนชั้นทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีความมุ่งหมายในการต่อสู้เพื่อเอกราช อธิปไตยและสันติภาพของประเทศ ผู้ที่เข้าร่วมขบวนการทุกท่านต้องถือว่า มีความเสียสละและความกล้าหาญอย่างมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ได้เข้ามาปฏิบัติการในประเทศไทยภายใต้การยึดครองของกองทัพญี่ปุ่น “ขอให้เราอย่านึกถึงตัวตนของบุคคล ซึ่งย่อมร่วงโรยไปตามกาลเวลา แต่ขอให้นึกถึงงานอมตะของเขา บุคคลอาจจะแตกต่างด้วยกำเนิด ด้วยฐานะและการศึกษา แต่การเสียสละเป็นยอดแห่งคุณธรรม ที่ยกให้มนุษย์อยู่ในระดับเดียวกัน”
บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2563
เนื่องในโอกาสครบรอบปีที่ ๗๘ แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ในปี พ.ศ.๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยหอจดหมายเหตุและหอประวัติศาสตร์เกียรติยศแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ได้จัดพิมพ์เอกสารอันทรงคุณค่าเล่มหนึ่งขึ้นเพื่อการนี้ กล่าวคือ หนังสือ “๗๘ ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (พ.ศ.๒๔๗๗-๒๕๕๕) มองธรรมศาสตร์ผ่านเอกสารจดหมายเหตุ”
Subscribe to บทบาท-ผลงาน