บทบาท-ผลงาน
บทบาทและผลงานของปรีดี
บทความ • บทบาท-ผลงาน
19
พฤศจิกายน
2563
ท่านปรีดีเห็นถึงความจําเป็นที่ต้องมีศาลปกครองแยกจากศาลยุติธรรมด้วย ดังปรากฏในข้อความเบื้องต้นของคําอธิบายกฎหมายปกครอง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
18
พฤศจิกายน
2563
หากจะกล่าวว่า ท่านปรีดีผู้วางรากฐานการศึกษากฎหมายปกครองและการจัดตั้งศาลปกครองของไทย ก็คงจะไม่เกินความเป็นจริง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
พฤศจิกายน
2563
ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" หรือที่มักเรียกกันว่า กบฏวังหลวง เหตุใด "จึงมิใช่กบฏต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
9
พฤศจิกายน
2563
ค.ศ. 1956 เจ้านโรดม สีหนุ ได้พบกับนายปรีดี พนมยงค์ ที่กรุงปักกิ่ง หลังจากได้สนทนากันหลายต่อหลายเรื่อง ก่อนที่จะอําลาจากกัน เจ้านโรดม สีหนุ ในฐานะประมุขของรัฐกัมพูชาเอกราช ก็ได้กล่าวเชื้อเชิญนายปรีดี พนมยงค์ ให้ไปเยือนกัมพูชา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นํามาซึ่งความชะงักงันของระบอบประชาธิปไตยของไทยที่ได้มีความพยายามที่จะผลักดันให้เกิดขึ้นในสมัยหลังสงครามโลก
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
พฤศจิกายน
2563
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ได้ตั้งข้อสังเกตถึงที่มาของปัญหาไว้ 3 ประการ คือ (1) ปัญหาจากระบอบอํานาจนิยม (2) ปัญหาทางเศรษฐกิจ และ (3) กรณีสวรรคตของรัชกาลที่ 8
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
พฤศจิกายน
2563
หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 มีความพยายามที่จะสถาปนาลัทธิรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ ให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากยิ่งขึ้น จึงเกิดเป็น "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489" อันเป็นฉบับที่ได้ชื่อว่า "เป็นฉบับนายปรีดี พนมยงค์" ซึ่งเป็นฉบับที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากกว่าฉบับใด ๆ ที่เคยมีมา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
3
พฤศจิกายน
2563
นายปรีดี พนมยงค์ และคณะ ได้ออกเดินทางไปกระชับสัมพันธไมตรีกับประเทศต่างๆ ทั่วโลก ถึง 9 แห่ง คือ จีน ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอร์แลนด์ เดนมาร์ค สวีเดน และนอร์เวย์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to บทบาท-ผลงาน
2
พฤศจิกายน
2563
หลังลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 แล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น