ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

แนวคิด-ปรัชญา
11
มีนาคม
2568
อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอประเด็นยุทธศาสตร์เศรษฐกิจ Landbridge ภายใต้ดุลยภาพแห่งอำนาจของจีนและสหรัฐอเมริกาโดยเชื่อมโยงกับข้อเสนอของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2478 โดยเฉพาะเรื่องทุนเพื่อไม่ให้ชาติเสียเอกรราชและอธิปไตย
บทสัมภาษณ์
10
มีนาคม
2568
ในวาระครบรอบ 109 ปี ชาตกาล ศาสตราจารย์ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ นักเศรษฐศาสตร์เสรีไทยคนสำคัญ สถาบันปรีดี พนมยงค์ โดยกล้า สมุทวณิช ได้รับเกียรติให้พูดคุยกับ ดร.โอฬาร ไชยประวัติ ซึ่งมีโอกาสทำงานใกล้ชิดกับ ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์
วันนี้ในอดีต
10
มีนาคม
2568
108 ปี ชาตกาล ไสว สุทธิพิทักษ์ ณ วันที่ 10 มีนาคม 2568 เสนอชีวประวัติ ผลงาน และสะท้อนความสัมพันธ์ของ ดร.ไสว กับนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดย ดร.ไสว อุทิศชีวิตทำงานเพื่อชาติโดยเฉพาะมิติการศึกษาและด้านเศรษฐกิจ
บทบาท-ผลงาน
10
มีนาคม
2568
รวมเอกสารทางการทูตฯ ในช่วงปี 2488 ระหว่างสงครามโลก ครั้งที่ 2 ซึ่งเน้นบันทึกและโทรเลขของอังกฤษและไทย ทั้งเรื่องปฏิบัติการเสรีไทยและความสัมพันธ์รวมถึงความขัดแย้ง การต่อรองทางการทูตระหว่างสหรัฐอเมริกา อังกฤษ และไทย
บทบาท-ผลงาน
8
มีนาคม
2568
เอกสารทางการทูตในระหว่างสงครามโลก ครั้งที่ 2 แสดงให้เห็นถึงการเจรจาลับทางการทูตต่ออังกฤษและสหรัฐอเมริกา ทั้ง 2 ประเทศนี้มีความเห็นต่างกันโดยสหรัฐอเมริกามีแนวโน้มสนับสนุนไทยให้เป็นอิสระจากอิทธิพลของอังกฤษ
บทบาท-ผลงาน
7
มีนาคม
2568
เอกสารทางการทูตชุดนี้เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์สะท้อนถึงความสัมพันธ์ทางการทูตสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ของขบวนการเสรีไทยกับสหรัฐอเมริกา และอังกฤษเพื่อต่อต้านกองทัพญี่ปุ่นและปกป้องเอกราชอธิปไตยของไทย
บทบาท-ผลงาน
5
มีนาคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ เรียกร้องให้กระทรวงศึกษาธิการและกรรมการพิจารณาหนังสือแห่งชาติให้พิจารณาเพิกถอนรางวัลสารคดียอดเยี่ยมที่ พล.ท. ประยูร ภมรมนตรี ได้รับ เนื่องจากข้อมูลส่วนใหญ่ทำให้งานประวัติศาสตร์ถูกลดถอนการเสนอความจริงของงานวิชาการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มีนาคม
2568
บทสัมภาษณ์ต่อนายปรีดี พนมยงค์ ในปี 2517 ที่สะท้อนทัศนะทางการเมือง และวิพากษ์วิจารณ์ระบบเผด็จการที่จำกัดสิทธิ์ของราษฎร ปัญหาทางเศรษฐกิจ และอิทธิพลของมหาอำนาจพร้อมกับสนับสนุนให้มีการปฏิรูปการเมืองและกองทัพ
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2568
ไทยรอดจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่ใช่เพราะ "ปาฏิหาริย์" แต่เพราะยุทธศาสตร์ทางการทูตและขบวนการเสรีไทย ทั้งนายปรีดี พนมยงค์ ปฏิเสธลงนามในประกาศสงครามฯ โดยต่อมาการประกาศสันติภาพในปี 2488 ยังช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2568
บทความนี้โต้แย้งแนวคิดที่ว่าไทยรอดจากการเป็นผู้แพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยความบังเอิญ โดยเน้นบทบาทของขบวนการเสรีไทยและยุทธศาสตร์ทางการทูตของปรีดี พนมยงค์ ที่ช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์