ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

บทบาท-ผลงาน
11
กุมภาพันธ์
2568
ปรีดี พนมยงค์ ชี้ให้เห็นข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ของพล.ท.ประยูร ภมรมนตรี ในประเด็นการ “ชักจูง” ร.ท.แปลก ขีตตะสังคะ, ร.ต.ทัศนัย มิตรภักดี, ดร.ตั้ว ลพานุกรม และนายแนบ พหลโยธิน รวมทั้งนายปรีดีให้เข้าร่วมการอภิวัฒน์สยาม
วันนี้ในอดีต
9
กุมภาพันธ์
2568
ทศ พันธุมเสน เป็นสมาชิกขบวนการเสรีไทยสายอังกฤษ ที่มีบทบาทสำคัญในการต่อต้านญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ภายหลังสงครามได้รับยศร้อยเอกประจำกองทัพอังกฤษ และกลับมาทำงานด้านอุตสาหกรรมและการเงินในประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
กุมภาพันธ์
2568
นายปรีดี พนมยงค์ ได้นำเสนอแนวคิดและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการขุดคลองคอคอดกระในอดีต โดยเน้นถึงความสำคัญของการรักษาอธิปไตยของชาติและความเป็น “เอกราชทางเศรษฐกิจ” ควบคู่ไปกับการพิจารณาถึงผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมที่จะเกิดขึ้นจากการพัฒนาพื้นที่โดยรอบคลอง
บทบาท-ผลงาน
6
กุมภาพันธ์
2568
ปรีดี พนมยงค์ ชี้ให้เห็นข้อบิดเบือนในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ในประเด็นเรื่องการก่อตั้งคณะราษฎรกับคณะของพล.ท.ประยูร ภมรมนตรีคือ ปีที่มีการประชุม เรื่องที่ปรึกษาตกลงในที่ประชุม ตําแหน่งหัวหน้าคณะฯ และประธานในที่ประชุมฯ
วันนี้ในอดีต
5
กุมภาพันธ์
2568
ข้อเท็จจริงเรื่องการก่อตั้งคณะราษฎร เนื่องในวาระ 5 กุมภาพันธ์ 2469 จากบันทึกประกอบคำประท้วงของปรีดี พนมยงค์ ที่โต้แย้งข้อมูลจากหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าของนายประยูร ภมรมนตรี
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กุมภาพันธ์
2568
การก่อตั้งสถานคาสิโนในสมัยคณะราษฎรมีหลักการมาจากการชดเชยงบประมาณเนื่องจากการยกเลิกภาษีรัชชูปการหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยมีการประชุมคณะรัฐมนตรีเรื่องนี้ครั้งสำคัญในช่วงทศวรรษ 2480
บทบาท-ผลงาน
31
มกราคม
2568
กฎหมายมรดกของโซเวียตในช่วงเวลาดังกล่าวเน้นให้รัฐมีบทบาทสำคัญในการเข้าถึงและควบคุมทรัพย์สินของเอกชน ทั้งทางตรง (การรับมรดก) และทางอ้อม (ภาษีมรดกที่สูงมาก) ซึ่งสะท้อนแนวคิดของระบอบสังคมนิยมที่ให้ความสำคัญกับรัฐมากกว่ากรรมสิทธิ์ส่วนบุคคล
บทบาท-ผลงาน
30
มกราคม
2568
ปรีดี พนมยงค์ เขียนอธิบายเกี่ยวกับการจำแนกประเภทคดีปกครองในประเทศฝรั่งเศส อธิบายถึงความแตกต่างของศาลปกครองและศาลยุติธรรมในการตัดสินคดีเกี่ยวกับการกระทำของรัฐและการดำเนินการในระบบปกครอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มกราคม
2568
บทความนี้ศึกษาบทบาทของสตรี ุ6 ท่านในขบวนการเสรีไทย ซึ่งมีส่วนสำคัญที่ได้ช่วยเหลือการเคลื่อนไหวภายในขบวนการฯ ในช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาเพื่อรักษาเอกราชของชาติไทยจากการครอบงำของญี่ปุ่นและนำไปสู๋สันติภาพในที่สุด
บทบาท-ผลงาน
28
มกราคม
2568
ปัญหาชาวรัสเซียผู้ถูกถอนสัญชาติสะท้อนถึงความยุ่งยากในทางกฎหมายระหว่างประเทศ โดยเฉพาะในกรณีที่บุคคลไม่มีสัญชาติอย่างชัดเจน การแก้ไขต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างประเทศและการออกกฎหมายอันว่าด้วยกฎหมายขัดกัน (Law on Conflicts of Law)
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์