ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง

เกร็ดประวัติศาสตร์
22
กรกฎาคม
2567
ชีวประวัติย่อและบทบาทของคุณหญิงแร่ม พรหโมบล บุณยประสพ ผู้เป็นเนติบัณฑิตหญิงคนแรกของประเทศไทย เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง และอุปนายกคนแรกของสมาคมสตรีไทย ตั้งแต่ พ.ศ. 2475 และเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการผลักดันมาตรา 28 ซึ่งบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ว่า “หญิงและชายมีสิทธิเท่าเทียมกัน”
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
กรกฎาคม
2567
ในทศวรรษ 2480 มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง มีความเกี่ยวข้องกับการเมืองไทยในระยะพลิกผันที่สำคัญคือ เป็นฐานที่มั่นของขบวนการเสรีไทย และเป็นที่ฝึกของเสรีไทยในธรรมศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2567
ตึกโดมเป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นสัญลักษณ์สำคัญของมหาวิทยาลัยโดยมีการสันนิษฐานว่าหลักการในการออกแบบมาจากหลัก 6 ประการ และสะท้อนรูปแบบของศิลปะสมัยคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอนโยบายการจัดการศึกษาหลังการอภิวัฒน์ 2475 ตามหลัก 6 ประการในข้อ 6. “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร” ส่งผลให้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้นและในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 ได้มีการแต่งตั้งศาสตราจารย์วิสามัญฯ ขึ้นซึ่งสะท้อนนัยการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
27
มิถุนายน
2567
การก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองเมื่อปี 2477 โดยนายปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎณ เป็นสถาบันอุดมศึกษา อันสร้างคน นักประชาธิปไตย นักปกครอง นักการเมือง อันเป็นกำลังของชาติให้แก่ประเทศไทย
บทบาท-ผลงาน
3
มิถุนายน
2567
อุดมการณ์และการจัดตั้งของคณะราษฎร ตอนที่ 1 เสนอให้เห็นการสร้างอุดมการณ์ของคณะราษฎรผ่านนโยบาย และสัญลักษณ์โดยเฉพาะการดำเนินตามหลัก 6 ประการซึ่งคณะราษฎรเร่งสร้างระบอบใหม่ด้วยการใช้เครื่องมือเหล่านี้เป็นหลัก
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤษภาคม
2567
การเชิญอัฐิธาตุของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 7-11 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 และปฏิกิริยาทางสังคมจากปารีสและไทยทั้งจากครอบครัว ลูกศิษย์ และนิสิตนักศึกษา รวมทั้งสื่อมวลชนที่ให้ความสนใจต่องานเชิญอัฐิธาตุในครั้งนี้
บทบาท-ผลงาน
6
พฤษภาคม
2567
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ เป็นบิดาแห่งประชาธิปไตยไทย นักคิดและนักปฏิบัติมีวิสัยทัศน์กว้างไกล ผู้วางรากฐานการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศ การรำลึกถึงท่านแสดงให้เห็นการยอมรับคุณงามความดีและคุณูปการอันยิ่งใหญ่
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2567
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเสียงส่วนมาก หรือเสียงส่วนน้อยก็ตาม จะต้องมีการเคารพในผลการตัดสินซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยึดแต่ส่วนตนเท่านั้น จึงจะทำให้การเมืองนั้นเกิดความมีเสถียรภาพ
แนวคิด-ปรัชญา
31
สิงหาคม
2566
บทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน โดยกล้า สมุทวณิช ผู้สัมภาษณ์ อาทิ อุปสรรคของประชาธิปไตยไทย, บทบาทและความจำเป็นขององค์กรอิสระ, ข้อเปรียบเทียบศาลรัฐธรรมนูญในต่างประเทศและความชอบธรรมทางการเมือง, เรื่องเร่งด่วนของฝ่ายนิติบัญญัติ ตลอดจนทางออก ข้อเสนอ และข้อคิดเห็นถึงการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญไทยฉบับใหม่ที่สมควรจะเกิดขึ้น เป็นต้น
Subscribe to มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง