ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2567
เนื้อหาช่วงสุดท้ายของบันทึกคำฟ้อง ปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งข้อกล่าวหาบางประการของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ให้เห็นข้อขัดแย้งกับหลักฐานและเอกสารประวัติศาสตร์ พร้อมรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลวงเดชสหกรณ์
บทบาท-ผลงาน
24
เมษายน
2567
การวิเคราะห์ของนักศึกษาและคำชี้แจงของท่านปรีดี พนมยงค์ ชี้ให้เห็นว่าข้อเขียนของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ และเป็นการบิดเบือนเพื่อวัตถุประสงค์ของตนเอง มิใช่สัจจะทางสารคดี
บทบาท-ผลงาน
23
เมษายน
2567
ข้อกล่าวอ้างของ พล.ท.ประยูรฯ เกี่ยวกับการล้มเลิกเค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ขัดแย้งกับหลักฐาน ทำให้เชื่อว่าเป็นเรื่องที่ท่านแต่งขึ้นเอง ในขณะที่ข้อชี้แจงของ ปรีดี พนมยงค์ มีน้ำหนักและสอดคล้องกับหลักฐาน
บทบาท-ผลงาน
13
เมษายน
2567
รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ที่ผสมผสานแคปิตัลิสม์และโซเซียลิสม์ เพื่อให้ประชาชนมีพอมีกิน งานทำ และความสุข โดยมีมติรับรองหลักการและมอบหมายให้จัดทำรายละเอียดเพิ่มเติม
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2567
เอกสารการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 แม้จะเรียกว่า "รัฐธรรมนูญ" แต่มุ่งเน้นการรวมอำนาจไว้ที่พระมหากษัตริย์และชนชั้นสูง สะท้อนลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มากกว่าระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเอกสารอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงเปลี่ยนผ่านได้ดียิ่งขึ้น
บทบาท-ผลงาน
31
มีนาคม
2567
ปาฐกถา นี้รายงานถึงผลงานของรัฐบาลในช่วง 2 ปีหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทั้งด้านกฎหมาย ความมั่นคง เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และการศึกษา พร้อมเรียกร้องให้ประชาชนช่วยกันรักษารัฐธรรมนูญ เพื่อนำพาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2567
ความสัมพันธ์พระยาพหลฯกับพระปกเกล้าฯ เริ่มด้วยความร่วมมือแต่กลายเป็นขัดแย้ง เนื่องจากพระองค์ทรงมีความกังวลต่อระบอบประชาธิปไตย มีข้อสงสัยบ่งชี้ว่าทรงรู้เห็นกบฏบวรเดช ก่อนเสด็จออกประเทศและสละราชสมบัติ สะท้อนความตึงเครียดจากการเปลี่ยนผ่านการปกครอง
บทบาท-ผลงาน
4
กุมภาพันธ์
2567
นายปรีดี พนมยงค์ได้เข้าดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในช่วงปลายเดือนมีนาคม โดยมีนโยบายที่สำคัญในการแก้ไขปัญหาและปราปรามโจรผู้ร้ายในบ้านเมืองให้มีจำนวนลดน้อยลง
แนวคิด-ปรัชญา
3
ธันวาคม
2566
เล่าถึงชีวประวัติของท่านอาจารย์ ปรีดี พนมยงค์ ในบทบาทเมื่อครั้งเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ในการพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับแรก นับแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองในนาม “คณะราษฎร”
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2566
เอกสารสำคัญและเรื่องราวที่มิเคยกล่าวถึงของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยชี้ให้เห็นถึงความขับเคี่ยวและขัดแย้งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา รวมไปถึงบรรยากาศและเรื่องราวของประชาชนจากหนังสือพิมพ์ประชาชาติ
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม