ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

ชีวิต-ครอบครัว
15
กรกฎาคม
2567
บันทึกและข้อเขียนของสุภา ศิริมานนท์ และลูกศิษย์ใกล้ชิดของนายปรีดี พนมยงค์ที่ไปพบท่านในช่วงบั้นปลายของชีวิตถึงประวัติศาสตร์ 2475-2520 และแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ โดยนายปรีดีได้กล่าวถึงสิ่งที่กังวลต่อชาติบ้านเมืองคือ ‘อนาคตของประเทศไทย’
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ตอนที่ 7 เสนอ 3 ประเด็นสำคัญคือ การนำรัฐธรรมนูญชั่วคราวขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ความคลาดเคลื่อนวันเวลาที่ผู้แทนคณะราษฎรเข้าเฝ้าฯ และการฝ่าฝืนความจริงเกี่ยวกับบุคคลที่เข้าเฝ้าฯ โดยนายปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งด้วยหลักฐานฯ ที่หักล้างได้ทั้ง 3 ประการ
บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอนโยบายการจัดการศึกษาหลังการอภิวัฒน์ 2475 ตามหลัก 6 ประการในข้อ 6. “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร” ส่งผลให้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้นและในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 ได้มีการแต่งตั้งศาสตราจารย์วิสามัญฯ ขึ้นซึ่งสะท้อนนัยการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มิถุนายน
2567
วันชาติ พ.ศ. 2484 กรมโฆษณาการโดยรัฐบาลได้ริเริ่มจัดพิมพ์หนังสือรายเดือนหัวสำคัญชื่อว่า “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำหน่ายในราคาเล่มละ 1 บาท ตัวเล่มจัดพิมพ์โดยโรงพิมพ์ไทยเขษม แล้ววางตลาดต่อเนื่องนับจากวันชาติ พ.ศ. 2484 จนถึงฉบับสุดท้ายเพื่อเฉลิมฉลอง “งานรัฐธรรมนูญ” บทความนี้จะนำเสนอเกร็ดประวัติศาสตร์จาก “เมืองไทย หนังสือภาพ” จำนวน 5 เล่ม
บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรเป็นช่วงระยะเวลาสั้นๆ ระหว่างวันที่ 28 มิถุนายน 2475 ถึงวันที่ 11 เมษายน 2476 และมีส่วนสำคัญในการวางรากฐานงานของสำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎรในปัจจุบัน
บทบาท-ผลงาน
6
มิถุนายน
2567
บันทึกฉบับ 6 มีนาคม 2526 ของนายปรีดี พนมยงค์ฯ แสดงสัจจะทางประวัติศาสตร์ก่อนการอภิวัฒน์ 2475 จากหลักฐานเอกสาร (authentic documents) เพื่อโต้แย้งมายาคติ 2475 ใน 2 เรื่องได้แก่ รัชกาลที่ 7 จะพระราชทานธรรมนูญฯ และกฎหมายเทศบาลเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
17
พฤษภาคม
2567
เรื่องราวเกี่ยวกับประสบการณ์การเดินทางไปเยี่ยม ดร.ปรีดี พนมยงค์ ที่ฝรั่งเศส โดยคุณอรุณ เวชสุวรรณ ประกอบด้วยบรรยายรายละเอียดต่างๆ ตั้งแต่การเตรียมการเดินทาง บรรยากาศปารีส และการพบปะบุคคลสำคัญของไทย
ชีวิต-ครอบครัว
7
พฤษภาคม
2567
การเชิญอัฐิธาตุของศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระหว่างวันที่ 7-11 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 และปฏิกิริยาทางสังคมจากปารีสและไทยทั้งจากครอบครัว ลูกศิษย์ และนิสิตนักศึกษา รวมทั้งสื่อมวลชนที่ให้ความสนใจต่องานเชิญอัฐิธาตุในครั้งนี้
บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2567
เนื้อหาช่วงสุดท้ายของบันทึกคำฟ้อง ปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งข้อกล่าวหาบางประการของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ให้เห็นข้อขัดแย้งกับหลักฐานและเอกสารประวัติศาสตร์ พร้อมรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลวงเดชสหกรณ์
บทบาท-ผลงาน
24
เมษายน
2567
การวิเคราะห์ของนักศึกษาและคำชี้แจงของท่านปรีดี พนมยงค์ ชี้ให้เห็นว่าข้อเขียนของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ และเป็นการบิดเบือนเพื่อวัตถุประสงค์ของตนเอง มิใช่สัจจะทางสารคดี
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม