ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2566
ย้อนรอยความเป็นมาของหมุดก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญผ่านหลักฐานชิ้นใหม่ เพื่อทบทวนจุดเริ่มต้นของการริเริ่มให้สร้าง การออกแบบ และองค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดสร้าง ก่อนที่โลหะแผ่นนี้จะกลายเป็นที่จดจำในฐานะอนุสรณ์ทางการเมืองเพื่อระลึกถึงห้วงเวลาสำคัญแห่งการอภิวัฒน์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
ชีวิต-ครอบครัว
12
เมษายน
2566
เรื่องราวการถูกเนรเทศไปยังแดนไกลของนายปรีดีและความเป็นไปทางการเมืองในขณะนั้น โดยกล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ชีวิตของมันสมองคณะราษฎรผู้นี้ต้องระหกระเหิน พร้อมทั้งบรรยากาศในสังคมสยามเมื่อคราวที่นายปรีดีจะต้องออกเดินทางนั้นมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
10
เมษายน
2566
จากหลัก 6 ประการข้อที่ 3 ว่าด้วย "เศรษฐกิจ" สู่ความพยายามของคณะราษฎรต่อนโยบายการปฏิรูปที่ดินหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ซึ่งต้องเผชิญแรงเสียดทานของผู้คนในระบอบเก่า
บทบาท-ผลงาน
9
เมษายน
2566
สืบสาวความคิดทางเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่าน "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" โดยพิจารณาหลักการและความเข้าใจทางเศรษฐกิจของนายปรีดี ซึ่งได้รับอิทธิพลองค์ความรู้จากพัฒนาการความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์ท่ามกลางพลวัตของโลกควบคู่ไปกับสภาพสังคมสยามในขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
7
เมษายน
2566
ก่อนการเลือกตั้งทั่วไปจะมาถึงในวันที่ 14 พฤษภาคมนี้ บทความนี้ชวนผู้อ่านสำรวจรูปแบบและวิธีการเลือกตั้งในประวัติศาสตร์การเมืองไทย นับตั้งแต่แรกเริ่มสถาปนาระบอบประชาธิปไตย เรื่อยมาจนถึงการเลือกครั้งล่าสุดในปี 2562
บทบาท-ผลงาน
2
เมษายน
2566
อ่านจุดเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ระหว่าง 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านข้อเขียนเรื่อง "รัฐบุรุษอาวุโสกลับคืนสู่มาตุภูมิ" และ "การลาออกของนายปรีดี" บทความของกุหลาบซึ่งได้ตีพิมพ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2490
แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2566
การเมืองของการผลิตซ้ำและการต่อสู้บนพื้นที่ทางความทรงจำ ผ่านการวิเคราะห์การเกิดขึ้นใหม่ของ "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" ในหลายรูปแบบ พร้อมทั้งสะกดรอยวิวาทะแห่งการพิมพ์และสัญญะทางความคิด ซึ่งพบร่องรอยการโต้ตอบเพื่อสถาปนาการรับรู้ นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา
แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2566
ย้อนรอยสำรวจการเมืองแห่งการอ่าน ผ่านการปะทะโต้ตอบทางอุดมการณ์ด้วยการผลิตตีพิมพ์ซ้ำระหว่าง "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" โดยเริ่มต้นข้อทบทวนความเป็นมาและเป้าหมายของเอกสารทางประวัติศาสตร์ทั้งสองฉบับ ก่อนจะนำไปสู่การพยายามรื้อฟื้นเอกสารทั้งสองฉบับในนับตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นไป
บทบาท-ผลงาน
3
มีนาคม
2566
เรื่องราวการลบล้างมลทินที่มัวหมองให้แก่ "พี่ๆ" คณะ ร.ศ. 130 โดย "คณะราษฎร" ภายหลังสยามก้าวเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยได้สำเร็จ ดังปรากฏในหลักฐานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 45 (สมัยสามัญ) ซึ่งนำไปสู่การประกาศ พรบ.ล้างมลทินผู้กระทำความผิดทางการเมือง ร.ศ. 130 เพื่อคืนความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้แก่คณะ ร.ศ. 130 ในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2566
บันทึกร่วมของ ร.ต.เนตร พูนวิวัฒน์ และ ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ ผู้เป็นสมาชิกของคณะ ร.ศ. 130 บอกเล่าความเชื่อมร้อยทางความคิดในความพยายามของการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย จากคณะ ร.ศ. 130 ถึง คณะราษฎรเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม