ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

หลวงประดิษฐ์มนูธรรม

บทบาท-ผลงาน
3
มีนาคม
2566
เรื่องราวการลบล้างมลทินที่มัวหมองให้แก่ "พี่ๆ" คณะ ร.ศ. 130 โดย "คณะราษฎร" ภายหลังสยามก้าวเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยได้สำเร็จ ดังปรากฏในหลักฐานการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 45 (สมัยสามัญ) ซึ่งนำไปสู่การประกาศ พรบ.ล้างมลทินผู้กระทำความผิดทางการเมือง ร.ศ. 130 เพื่อคืนความบริสุทธิ์และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ให้แก่คณะ ร.ศ. 130 ในเวลาต่อมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2566
บันทึกร่วมของ ร.ต.เนตร พูนวิวัฒน์ และ ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ ผู้เป็นสมาชิกของคณะ ร.ศ. 130 บอกเล่าความเชื่อมร้อยทางความคิดในความพยายามของการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย จากคณะ ร.ศ. 130 ถึง คณะราษฎรเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนย้อนไปสู่การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 5/2481 (สามัญ) สมัยที่ 2 ชุดที่ 3 ซึ่งปรากฏการตั้งกระทู้ถามตอบในกรณีการขายเงินเหรียญบาทออกนอกประเทศ ของ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
บทบาท-ผลงาน
12
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงบทบาทของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ผ่านการกำหนดพื้นที่สำหรับการสร้าง "ป่าช้าสุเหร่าบางลาว" ในละแวกตำบลบางปลา อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของประวัติศาสตร์ท้องถิ่นในย่านดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงเรื่องราวระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อคราวรั้งตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย กับการร้องเรียนและขอความช่วยเหลือโดยกลุ่มแขกเจ้าเซ็น กรณีปัญหาความกังวลเกี่ยวกับศาสนวัตถุพระปั้นหย่า ซึ่งมีทีท่าว่าจะถูกปลอมแปลง จนอาจส่งผลต่อความเลื่อมใสของศาสนิกชน
แนวคิด-ปรัชญา
30
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ เขียนถึงบทบาทแนวคิดที่หลากมิติของ 'นายปรีดี พนมยงค์' สำหรับการทำงานเพื่อรับใช้สังคมอันเป็นเจตนารมณ์ที่ได้ต่อยอดทั้งในทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และสันติภาพ อันเป็นหลักการที่วางรากฐานและสร้างคุณค่าให้แก่ระบอบประชาธิปไตย โดยแก่หลักสำคัญได้แก่ "ปรัชญาสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย"
ศิลปะ-วัฒนธรรม
24
ธันวาคม
2565
ย้อนกลับไปยัง "งานฉลองรัฐธรรมนูญ" ในปี พ.ศ. 2483 อันปรากฏร่องรอยประวัติศาสตร์และการมีส่วนร่วมของ "ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์" ซึ่งเป็นการดำเนินงานร่วมกับกองศิลปากรในการประกวดเคหสถาน กิจกรรมในคราวนั้นก็เพื่อเป็นเครื่องแสดงถึงวัฒนธรรมความเจริญของชาติในระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
11
ธันวาคม
2565
พิจารณาแกนหลักสำคัญผ่านรัฐธรรมนูญ คือการวางหลักประกันให้แก่สิทธิและเสรีภาพพื้นฐานให้แก่ประชาชน อีกทั้งนำเสนอหลักคิดและอุดมคติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ซึ่งแสดงทัศนะไว้ต่อประเด็นรัฐธรรมนูญที่มีลักษณะเชิงจำกัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชนให้ถดถอยลง เพื่อถอดบทเรียนไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน
Subscribe to หลวงประดิษฐ์มนูธรรม