ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2567
ทองเปลว ชลภูมิ เป็นนักการเมืองที่มีอุดมการณ์ในประชาธิปไตยอย่างแรงกล้า และได้ต่อสู้เรื่อยมาในทางการเมือง จนกระทั่งต้องจบชีวิตจากการถูกสังหารโดยรัฐบาลฝ่ายเผด็จการ กับอีก 3 รัฐมนตรี แต่นาม "ทองเปลว" ยังคงถูกกล่าวถึงอยู่เสมอ
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2567
จดหมายฉบับนี้ลูกชายผู้แรกได้เขียนถึงคุณงามความดีและแบบอย่างที่ดีของพ่อ การใช้ชีวิตท่ามกลางการถูกประณามจากสังคม
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กุมภาพันธ์
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบ 129 ปี ชาตกาล ม.จ.พูนพิศมัย ดิศกุล จึงขอนำเสนอบทความ “ห้องดำรง“ เรื่องราวของท่านในการเยือนสถานที่ท่องเที่ยวในต่างประเทศจนได้ความรู้ใหม่
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2567
เนื่องในวาระครบรอบ 119 ปี ชาตกาล 'ศาสตราจารย์ดิเรก ชัยนาม' จึงจะขอนำเสนอผลงานและแนวคิดสำคัญในแต่ละช่วงชีวิตดังต่อไปนี้ และไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมาก่อน อาทิ ข้อเสนอระงับกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในรายงานการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 6 วันที่ 14 ตุลาคม พุทธศักราช 2489 บทบาทในการก่อตั้งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรก พ.ศ. 2492 และปาฐกถาพุทธศาสนากับการปกครอง พ.ศ. 2499
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
มกราคม
2567
  คุณพ่อสั่งว่าเมื่อพี่ปาลอ่านแล้วให้คุณ จ. กับน้อยอ่านด้วย
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
มกราคม
2567
  ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๒๓ ปาล ลูกรัก 
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ร้อยเรียงเรื่องราวขยายภาพความสัมพันธ์ของปาล พนมยงค์ที่มีต่อมิตรสหายอย่าง ‘เยื้อน พานิชวิทย์’ และ 'สัมผัส พึ่งประดิษฐ์' จากบันทึกทางประวัติศาสตร์และบทสัมภาษณ์กับสัมผัส พึ่งประดิษฐ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ธันวาคม
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เล็กน้อย ณ ห้วงยามที่กองกำลังญี่ปุ่นกำลังคืบคลานเข้าสู่คาบสมุทรมลายู ถึงบทบาทของคุณวิลาศ โอสถานนท์ในฐานะอธิบดีกรมโฆษณาการ นำเสนอในที่ประชุมประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม 2484
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2566
เนื่องในวาระชาตกาล 114 ปี ‘เตียง ศิริขันธ์’ อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ย้อนพาผู้อ่านกลับไปหาเรื่องราวก่อนจะมาเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎร ผ่านเรื่องราวสมัยเรียนอักษรศาสตร์ การเป็นครู และถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์จากเรื่องราวของนางงาม
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤศจิกายน
2566
เอกสารสำคัญและเรื่องราวที่มิเคยกล่าวถึงของการเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 โดยชี้ให้เห็นถึงความขับเคี่ยวและขัดแย้งระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา รวมไปถึงบรรยากาศและเรื่องราวของประชาชนจากหนังสือพิมพ์ประชาชาติ
Subscribe to เกร็ดประวัติศาสตร์