ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กรกฎาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เขียนบทความสั้น ๆ เล่าถึง 'คุณปู่' พระยาไชยวิชิตสิทธิสาตรา (นาค) ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่ได้ลงชื่อในคำกราบบังคมทูล ร.ศ. 103
บทบาท-ผลงาน
3
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม เวียนมาบรรจบ ผมในฐานะศิษย์เก่า มธ. ของท่านรัฐบุรุษปรีดี พนมยงค์ ผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอจารึกความรู้สึกไว้ว่า ท่านรัฐบุรุษอาวุโสไม่ได้จากไปไหน เพียงแต่อัฐิธาตุของท่านได้ลอยจากไปท่ามกลางทะเลใสสะอาด แต่ผลงานของท่านยังคงอยู่ และผมระลึกอยู่เสมอว่า ฯพณฯ ปรีดี ได้ก่อตั้งมหาวิทยาลัยเปิดขึ้นแห่งแรกในประเทศไทย คือ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง  ผมกล้าพูดได้ว่า ไม่มีท่าน ไม่มีธรรมศาสตร์ ไม่มีธรรมศาสตร์ ก็ไม่มีพวกเราทุกคน 
2
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จัดงาน “88 ปี 2475 ความทรงจำของสามัญชน” โดย นายอนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการบริหาร สถาบันปรีดี พนมยงค์ กล่าวเปิดงานเสวนาในหัวข้อ จากราชดำเนินถึง “2475: ความรู้ ความทรงจำและสถานการณ์ปัจจุบัน” ผ่านเพจสถาบันปรีดี พนมยงค์ และ ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2
กรกฎาคม
2563
88 ปีนับจาก พ.ศ. 2475 จนถึง 2563 สามัญชนอยู่ตรงไหนในประชาธิปไตยไทย? คำถามข้างต้นหาคำตอบได้จากหลายแง่มุม ตั้งแต่กฎหมายสูงสุดของประเทศซึ่งแสดงที่ทางของผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครอง วิถีชีวิตและวัฒนธรรมที่สะท้อนแนวคิดการอยู่ร่วมกัน ไปจนถึงสิ่งปลูกสร้าง
2
กรกฎาคม
2563
จากวันที่  24 มิถุนายน 2475 ถึง 24 มิถุนายน 2563 นับเนื่องเป็นเวลากว่า 88 ปีของการอภิวัฒน์สยาม เหตุการณ์ปฏิวัติของคณะราษฎรที่ทำให้ประเทศไทยเปลี่ยนผ่านจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
บทบาท-ผลงาน
2
กรกฎาคม
2563
ความจําเป็นที่จะให้ประชาชนส่วนใหญ่เข้ามามีส่วนในทางการเมืองเป็นเรื่องที่ตระหนักดี โดยผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกซึ่งประกาศใช้เมื่อปี 2475 บุคคลผู้นั้น ก็คือ อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
กรกฎาคม
2563
ศักดิชัย บำรุงพงศ์ เจ้าของนามปากกา "เสนีย์ เสาวพงศ์" เขียนรำลึกคราวหลังครั้งเป็น "เสรีไทย" ที่ทำงานกับนายทหารสัมพันธมิตรอังกฤษ และ "ท่านชิ้น" ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน
ชีวิต-ครอบครัว
30
มิถุนายน
2563
ผมไม่คาดคิดมาก่อนว่าจะได้รู้จักครอบครัวของท่านปรีดี พนมยงค์ เพราะผมไม่มีทางจะเข้าไปเกี่ยวข้องอะไรเลยไม่ว่าจะด้านใด ผมไม่ใช่นักศึกษาธรรมศาสตร์ ไม่ได้เรียนทางกฎหมายหรือการเมืองการปกครอง ไม่มีญาติหรือมีเพื่อนที่มีประวัติหรือลู่ทางที่จะเข้าไปรู้จักครอบครัวของท่านได้เลย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
30
มิถุนายน
2563
ปรีดีคีตานุสรณ์เป็นผลงานประพันธ์ทางดนตรีของสมเถา สุจริตกุล ประพันธ์ขึ้นเพื่อเป็นอนุสรณ์ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งชาตกาลของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ซึ่งทางองค์การยูเนสโก สหประชาชาติ ประกาศยกย่องให้เป็นบุคคลสําคัญของโลกในปี ค.ศ. 2000  วงดุริยางค์ซิมโฟนีกรุงเทพฯ ได้นํา “ปรีดีคีตานุสรณ์” ออกแสดงเป็นรอบปฐมทัศน์ที่กรุงเทพฯ ในวันที่ 9 พฤษภาคม ค.ศ. 2000 โดย สมเถา สุจริตกุล ผู้ประพันธ์ได้ทําหน้าที่เป็นผู้อํานวยเพลง ซึ่งได้รับความสําเร็จอย่างงดงาม
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2563
เค้าโครงเศรษฐกิจฉบับแรกนี้ ปรีดี พนมยงค์เขียนขึ้นภายในระยะเวลาที่จำกัด และมุ่งหมายที่จะให้เค้าโครงการเศรษฐกิจนี้เป็นเพียงหลักการใหญ่เท่านั้น ในรายละเอียดการดำเนินการแต่ละเรื่องนั้นจะต้องมีการไปคิดและกำหนดวิธีการดำเนินการอีกทีหนึ่งภายใต้หลักการนี้