ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

ชีวิต-ครอบครัว
28
มิถุนายน
2563
       ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ จักคงคู่ยุคอยู่ทุกสมัย คู่นามปรีดีปรีติชัย ปิ่นประชาธิปไตยไผทนิรันดร์      คือมือประคับป้องประคองมือ ถือธงนำทางร่วมสร้างสรรค์ ร่วมชีพร่วมประชาร่วมประชัน ศักดิ์สามัญแห่งมหาประชาชน      ร่วมทุกข์ร่วมสุขร่วมเสียสละ สมถะ สันโดษ สำแดงหน คัลลองแห่งผู้ตัด อัตตาตน เป็นเยี่ยงอย่างให้ยลอยู่ทุกยาม      โอวาทสุดท้ายที่ธรรมศาสตร์ ดังประกาศ ฝากไว้ในสยาม “นักศึกษาธรรมศาสตร์ ทุกทุกนาม จงมีความสำนึกอยู่เป็นนิตย์
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2563
ในวาระ 86 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอร่วมรำลึกถึงโอกาสพิเศษนี้ผ่านบทความของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (2)" ซึ่งเป็นตอนจบ ที่กล่าวถึงการบริหาร หลักสูตร การเรียนการสอนในยุคที่นายปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ รวมถึงสิ่งที่เรียกว่า ชีวิตและวิญญาณของธรรมศาสตร์ในยุคนั้น
บทบาท-ผลงาน
26
มิถุนายน
2563
ม.ธ.ก. ถือได้ว่าเป็นผลพวงหรือ “คู่แฝด” ของการปฏิวัติสยาม 24 มิถุนายน 2475/ 1932 อย่างไม่ต้องสงสัย หากไม่มี 24 มิถุนายน 2475/1932 ก็อาจจะไม่มี 27 มิถุนายน 2477/1934 (วันสถาปนา ม.ธ.ก.)
25
มิถุนายน
2563
วันที่ 24 มิถุนายน 2563 ทายาทคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร เนื่องในวันครบรอบ 88 ปี ของการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบประชาธิปไตย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 นำโดยสุดาและดุษฎี พนมยงค์ ทายาทนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าคณะราษฎรสายพลเรือน ร่วมวางดอกไม้และทำบุญอุทิศส่วนกุศลอัฐิคณะราษฎร และถวายภัตตาหาร แก่พระสงฆ์จำนวน 24 รูป
บทบาท-ผลงาน
25
มิถุนายน
2563
กราบเรียนท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ท่านอธิการบดี ท่านผู้จัดงาน และท่านผู้ที่เคารพทั้งหลาย
บทสัมภาษณ์
24
มิถุนายน
2563
โคทม อารียา เป็นผู้แทนสหภาพเพื่อสิทธิเสรีภาพของประชาชน สัมภาษณ์พิเศษ ฯพณฯ ปรีดี พนมยงค์ ในโอกาสครบรอบ 48 ปีแห่งการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2523 ที่เมืองอองโตนี ชานกรุงปารีส
23
มิถุนายน
2563
สถาบันปรีดี พนมยงค์รวบรวมหนังสือน่าอ่านประจำเดือนมิถุนายน ชวนผู้อ่านรำลึกวาระครบรอบ 88 ปี เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 ทั้งหมด 3 ชุด ได้แก่
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มิถุนายน
2563
ในวิชาประวัติศาสตร์ หลักฐานเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวด ถึงกับต้องมีการจัดลำดับความสำคัญของหลักฐานว่า เป็นชั้นต้น (Primary Source) ชั้นรอง (Secondary Source) ฯลฯ โดยปกตินักประวัติศาสตร์จะให้น้ำหนักหลักฐานชั้นต้นเป็นอย่างมาก เพราะถือได้ว่าใกล้ชิดกับเหตุการณ์หรือใช้ศัพท์กันว่า “ร่วมสมัย” (Contemporary)