ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กันยายน
2564
ชีวประวัติของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ กับความเคลื่อนไหวของ สายการบินแห่งชาติปากีสถาน อาจไม่มีใครคาดคิดว่าจะมีส่วนเชื่อมโยงกัน หากแท้จริงแล้ว การโดยสารเที่ยวบินของสายการบินแห่งนี้ ถือเป็นการเดินทางครั้งสำคัญของอดีตนายกรัฐมนตรีไทยคนที่ 7 เลยทีเดียว
บทสัมภาษณ์
25
กันยายน
2564
‘น๊อต นุติ เขมะโยธิน’ หากเอ่ยถึงชื่อนี้ในวงการบันเทิงจะรู้ทันทีว่า เขาคืออดีตศิลปิน หนึ่งในสมาชิกวง System Four พระเอกละครจอแก้วมากมายหลายเรื่อง สมรสกับนางเอกชื่อดัง กวาง กมลชนก โกมลฐิติ
บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2564
16 สิงหาคม 2488 ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ฯ รัชกาลที่ 8 ได้ประกาศสันติภาพ แสดงจุดยืนแห่งความเป็นกลาง สันติภาพ และอิสรภาพของชนชาวไทยต่อประชาคมโลก เป็นการประกาศเอกราช อธิปไตย ทำให้ประเทศไทยไม่ตกเป็นชาติผู้แพ้สงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2564
ด้วยเหตุที่การยอมรับศักดิ์ศรีแต่กำเนิด และสิทธิซึ่งเสมอกันและไม่อาจโอนแก่กันได้ ของสมาชิกทั้งปวงแห่งครอบครัวมนุษยชาติอันเป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในโลก
แนวคิด-ปรัชญา
22
กันยายน
2564
คำว่า “รัฐธรรมนูญ” ประกอบด้วยคำว่า “รัฐ” หมายถึง บ้านเมืองหรือแผ่นดินกับคำว่า “ธรรมนูญ” หมายถึง บทกฎหมายว่าด้วยระเบียบการ
แนวคิด-ปรัชญา
21
กันยายน
2564
เมื่อคณะราษฎรเข้ามาบริหารประเทศก็ได้กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจสำคัญตามหลัก 6 ประการ ที่ได้ประกาศไว้ ทำให้เศรษฐกิจเปลี่ยนเป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น ก็เกิดชนชั้นกลางในภาคอุตสาหกรรม ซึ่งในส่วนนี้ก็คือเศรษฐกิจนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
กันยายน
2564
พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณฯ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลปัจจุบัน) นับเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 ในราชสกุล “มหิดล” สืบสายมาจากสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กันยายน
2564
19 กันยายน 2564 ครบรอบ 15 ปี รัฐประหาร โดย คปค 19 กันยายน 2549
แนวคิด-ปรัชญา
18
กันยายน
2564
แนวคิดและปณิธาน “รัฐบาลกับราษฎรเป็นคู่มือร่วมกัน” ช่างน่าครุ่นคิด โดยเฉพาะความตอนหนึ่งคือ “...รัฐบาลกับราษฎรไม่ใช่คู่อริหรือคู่แข่งขันกัน แต่เป็นคู่ร่วมคิดร่วมมือกันปฏิบัติงานของชาติ...” อีกทั้งยังควรโยงใยมาเตือนสติรัฐบาลหรือผู้คนแห่งยุคสมัยปัจจุบันให้ตระหนักว่า ไม่ควรทำตนเป็นศัตรูกับประชาชน!
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2564
ในวันเพ็ญเดือนหก (พฤษภาคม) พุทธศักราช 2500 ตามปีปฏิทินจันทรคติของไทยจะเวียนมาถึง “กึ่งพุทธกาล” หรือครึ่งหนึ่งของอายุพระพุทธศาสนา (5,000 ปี) ตามความเชื่อพื้นบ้าน