ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

13
มิถุนายน
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ และ กรุงเทพมหานคร ร่วมประชุมหารือการจัดกิจกรรมในวาระ “79 ปี วันสันติภาพไทย ประจำปี 2567” เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในหน้าประวัติศาสตร์และคุณูปการของวีรชนขบวนการเสรีไทยซึ่งจะจัดขึ้นในวันศุกร์ที่ 16 สิงหาคม 2567
บทบาท-ผลงาน
12
มิถุนายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 3 ชี้ให้เห็นว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี มีข้อความที่คลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงทั้งกรณีคณะราษฎร และนายตั้ว ลพานุกรม
บทบาท-ผลงาน
11
มิถุนายน
2567
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้ปรับปรุงพิกัดอัตราศุลกากร โดยลดหรือยกเว้นภาษีสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษา เพิ่มภาษีสินค้านำเข้า ปรับวิธีเก็บภาษีข้าวจากเก็บตามสภาพเป็นเก็บตามราคา เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุนราษฎร โดยเฉพาะชาวนา
10
มิถุนายน
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ และสถาบันเพื่อการยุติธรรมแห่งประเทศไทย (TIJ) ได้ร่วมประชุมหารือกันเพื่อนำไปสู่ความร่วมมืออย่างเป็นทางการในด้านงานวิจัยและการจัดงานเสวนาทางวิชาการต่อไปในอนาคต
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
มิถุนายน
2567
นอกจากวิธีการตรวจสอบพยานหลักฐานแวดล้อมที่มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อยแล้ว บันทึกคำให้การประกอบสำนวนคดีของโจทก์ พยาน และจำเลย ก็มีความเป็นไปได้และความสมเหตุสมผลไม่เพียงพอเอาผิดต่อจำเลยเช่นเดียวกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มิถุนายน
2567
วิธีการสอบพยานหลักฐานแวดล้อมกรณีสวรรคต ร.8 มีข้อบกพร่องหลายประการและมีความน่าเชื่อถือน้อย แต่กลับสร้างบาดแผลให้กับประวัติศาสตร์ทางความรู้สึกและสร้างความสูญเสียต่อผู้บริสุทธิ์ บทความนี้จะช่วยแกะรอยและชี้แจงข้อบกพร่องดังกล่าว
บทบาท-ผลงาน
8
มิถุนายน
2567
หลังจากการขึ้นครองราชย์ของรัชกาลที่ 9 รัฐบาลนำโดยนายปรีดี พนมยงค์ได้แถลงนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดินต่อรัฐสภา ซึ่งมีใจความสำคัญคือการพัฒนาประเทศอย่างครอบคลุม 12 ด้าน
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิพากษ์การใช้อำนาจที่ไม่ชอบธรรมของรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2487 โดยเฉพาะการแต่งตั้งคนใให้ดำรงตำแหน่งสูงในระบบราชการด้วยอำาจที่ไม่เป็นธรรม
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
มิถุนายน
2567
เหตุการณ์สวรรคตของรัชกาลที่ 8 ด้วยพระแสงปืนได้ก่อให้เกิดความสับสนในทางการเมืองอย่างมากท่ามกลางที่ประชุมรัฐสภาในรัฐบาลของนายปรีดี พนมยงค์ ที่เต็มไปด้วยความคลุมเครือในการสืบพยานของคดีดังกล่าวและการสืบราชสันตติวงศ์
บทบาท-ผลงาน
6
มิถุนายน
2567
บันทึกฉบับ 6 มีนาคม 2526 ของนายปรีดี พนมยงค์ฯ แสดงสัจจะทางประวัติศาสตร์ก่อนการอภิวัฒน์ 2475 จากหลักฐานเอกสาร (authentic documents) เพื่อโต้แย้งมายาคติ 2475 ใน 2 เรื่องได้แก่ รัชกาลที่ 7 จะพระราชทานธรรมนูญฯ และกฎหมายเทศบาลเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ