ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

ชีวิต-ครอบครัว
17
กันยายน
2566
สำหรับวันนี้ขอเสนอตอน “ตามล่าหาสายลับ” บอกเล่าถึง ผิงผิง สาวน้อยที่จับตามองปลายตั้งแต่แรกเข้าเรียน ได้เอ่ยปากชวนปลายให้มาเข้าร่วมกิจกรรมของเหล่าอนุชนผ้าพันคอแดง
แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2566
คำว่า “ประชาธิปไตย” มีความหมายที่ไม่หยุดนิ่งตลอดมา แม้จะปรากฏคำนี้ขึ้นในสังคมไทยมายาวนาน แต่ความเข้าใจถึงความหมายทั้งในทางทฤษฎีและทางปฏิบัตินั้นก็ยังไม่อาจหาคำจำกัดความได้อย่างลงตัวนัก
แนวคิด-ปรัชญา
13
กันยายน
2566
PRIDI's Law Lecture : การรักษาความสงบเรียบร้อยในทางอรรถคดี เมื่อมีผู้กระทำผิดทางอาชญาเจ้าหน้าที่หรือฝ่ายปกครองสามารถกระทำต่อผู้กระทำผิดได้ 11 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
12
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงปัจจัยที่ส่งผลให้คนจนก่ออาชญากรรมและถูกพบเห็นมากกว่าคนรวย ในขณะเดียวกันคนรวยทำอย่างไรจึงก่ออาชญากรรมได้โดยไม่ถูกนับเป็นอาชญากรรม
11
กันยายน
2566
วันที่ 11 กันยายน 2566  สถาบันปรีดี พนมยงค์ จัดอบรมภายในให้กับทีมงานเรื่อง Tech Update & Digital Marketing Trend อัปเดตดิจิทัลเทรนด์ต่างๆ รวมถึงให้ความรู้เรื่อง AI Chat GPT และ Google Bard โดยได้รับเกียรติจากคุณอริยะ พนมยงค์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหารร่วม บริษัท ซีเอ็มโอ จำกัด (มหาชน) เป็นวิทยากรในการฝึกอบรม
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ต้องการนำเสนอถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างรัฐธรรมนูญฉบับที่เป็นตัวกฎหมายกับฉบับวัฒนธรรม และการยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ ผ่านมโนทัศน์ ‘รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรม’
ชีวิต-ครอบครัว
10
กันยายน
2566
“พระราชวังต้องห้าม” บอกเล่าถึงบรรยากาศภายในโรงเรียนประจำที่ปลายเรียนอยู่ ที่นี่ปลายเข้าเรียนชั้นมัธยมต้นปีที่ 1 มีวิชาใหม่ๆ หลายวิชาที่ได้เรียนรู้ นอกจากนั้น บรรยากาศโดยรอบของโรงเรียนยังรายล้อมไปด้วยสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2566
ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไปเมื่อวันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ปรากฏว่าพรรคเสรีมนังคศิลาซึ่งนำโดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม และ พลตำรวจเอก เผ่า ศรียานนท์ ได้รับชัยชนะด้วยคะแนนท่วมท้น แต่กลับมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์หนาหูถึงกรณีที่พรรคอันดับหนึ่งพรรคนี้ใช้วิธีฉ้อฉลเพื่อโกงการเลือกตั้งอย่างเลวร้ายที่สุด จนมีถ้อยคำเอ่ยขานกันว่าเป็น “การเลือกตั้งสกปรก”
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2566
PRIDI’s Law Lecture วันนี้เสนอความเห็นที่มีต่อลักษณะกิจของฝ่ายปกครองถึงความสมควรและขอบเขตการงานในการปกครอง โดยมีสองทัศนะที่แตกต่างกันในจุดมุ่งหมายของการปกครอง รัฐที่เป็นแบบตำรวจ และ รัฐที่เป็นผู้สงเคราะห์
แนวคิด-ปรัชญา
7
กันยายน
2566
ข้อสังเกต 3 ประการถึงเหตุผลว่าเป็นเช่นไรที่การมองด้วยทฤษฎีภาวะทันสมัยหรือ “สองนคราธิปไตย” อาจต้องกลับมาศึกษาใหม่อีกครั้ง