ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

บทบาท-ผลงาน
1
พฤษภาคม
2567
นโยบายแรงงานคณะราษฎรให้ความสำคัญกับสวัสดิการแรงงาน โดยปรีดี พนมยงค์ริเริ่มพระราชบัญญัติจัดตั้งสำนักงานจัดหางาน พ.ศ. 2475 เพื่อคุ้มครองแรงงานและนายจ้าง วางรากฐานกฎหมายแรงงานไทย
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2567
โครงสร้างแรงงานไทยเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลให้จิตสำนึกร่วมของแรงงานเสื่อมถอย แต่มีสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เกิดขึ้น สร้างโอกาสเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชน์แรงงานในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ วิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญ 2517 ว่ายังไม่สอดคล้องกับหลักประชาธิปไตย เสนอให้ประชาชนเลือกวุฒิสภา รัฐสภาควบคุมการส่งกำลังทหารเข้า-ออกประเทศ พร้อมเสนอแนวคิดให้พระมหากษัตริย์อยู่เหนือการเมือง
บทบาท-ผลงาน
29
เมษายน
2567
ปรีดีนำเสนอแนวคิดเค้าโครงการเศรษฐกิจที่ได้รับอิทธิพลจากลัทธิ Solidarism โดยให้รัฐมีบทบาทสำคัญในการวางแผนและกระจายทรัพยากรอย่างเท่าเทียมเพื่อสร้างความเป็นธรรมทางสังคมและเศรษฐกิจในสังคมไทย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
เมษายน
2567
"หลานม่า" เป็นหนังครอบครัวสะท้อนปัญหาช่องว่างระหว่างวัยและการดูแลผู้สูงอายุอย่างลึกซึ้ง แสดงถึงวุฒิภาวะและศักยภาพของค่าย GDH ในการสร้างหนังคุณภาพระดับสากล สร้างรายได้สูง มีแนวโน้มประสบความสำเร็จระดับนานาชาติ
แนวคิด-ปรัชญา
27
เมษายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เน้นย้ำถึงความสำคัญของการยึดมั่นในความจริงและความซื่อสัตย์ ซึ่งเป็นคุณสมบัติพื้นฐานของมนุษยภาพ การหลีกเลี่ยงความจริงและการหลอกลวงจะนำไปสู่ความไม่สงบสุขและปัญหาในสังคม
บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2567
การฟ้องคดีความเรื่องหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าของนายประยูร ภมรมนตรีต่อกระทรวงศึกษาธิการและห้างหุ้นส่วนจํากัดบรรณกิจเทรดดิ้ง เริ่มฟ้องคดีฯ ในปี 2522 และสิ้นสุดลงด้วยการประนีประนอมในปี 2525 การฟ้องร้องคดีฯ เพื่อการปกป้องเกียรติของนายปรีดี พนมยงค์ และยืนยันข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์สมัยคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
25
เมษายน
2567
เนื้อหาช่วงสุดท้ายของบันทึกคำฟ้อง ปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งข้อกล่าวหาบางประการของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี โดยชี้ให้เห็นข้อขัดแย้งกับหลักฐานและเอกสารประวัติศาสตร์ พร้อมรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับหลวงเดชสหกรณ์
บทบาท-ผลงาน
24
เมษายน
2567
การวิเคราะห์ของนักศึกษาและคำชี้แจงของท่านปรีดี พนมยงค์ ชี้ให้เห็นว่าข้อเขียนของ พล.ท.ประยูร ภมรมนตรี ไม่สอดคล้องกับข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ และเป็นการบิดเบือนเพื่อวัตถุประสงค์ของตนเอง มิใช่สัจจะทางสารคดี
บทบาท-ผลงาน
23
เมษายน
2567
ข้อกล่าวอ้างของ พล.ท.ประยูรฯ เกี่ยวกับการล้มเลิกเค้าโครงการเศรษฐกิจฯ ขัดแย้งกับหลักฐาน ทำให้เชื่อว่าเป็นเรื่องที่ท่านแต่งขึ้นเอง ในขณะที่ข้อชี้แจงของ ปรีดี พนมยงค์ มีน้ำหนักและสอดคล้องกับหลักฐาน