ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

แนวคิด-ปรัชญา
24
มิถุนายน
2566
อ่านที่มาของการตั้งชื่อของ “คณะราษฎร” ผ่านคำบอกเล่าของนายปรีดี พนมยงค์ เหตุการณ์อภิวัฒน์สยาม เมื่อ 24 มิถุนายน 2475 ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณญาสิทธิราชย์สู่ระบอบประชาธิปไตยอันมีกษัตริย์อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
24
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ชี้แจงถึงมูลเหตุ จุดเริ่มต้นของการอภิวัฒน์ 2475 ว่าคณะราษฎรไม่ใช่คนกลุ่มแรกที่มีความคิดเปลี่ยนแปลงการปกครองในสยาม หากแต่เป็นพัฒนาการต่อเนื่องจากเหตุการณ์ ร.ศ. 103 ในสมัยรัชกาลที่ 5 และ ร.ศ. 130 ในสมัยรัชกาลที่ 6 และยังกล่าวถึงการสละราชสมบัติของรัชกาลที่ 7 กับคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ กล่าวอารัมภบทถึงการอภิวัฒน์ 2475 ว่า “สังคมมนุษย์รวมทั้งสังคมไทยด้วยนั้น จะคงอยู่ได้ก็ต้องอาศัยสัจจะ” ดังนั้น เราควรศึกษาประวัติศาสตร์จากเอกสารแท้จริง (Authentic Document) ไม่ใช่จากนิยายอิงประวัติศาสตร์ พร้อมยกตัวอย่างเอกสารบิดเบือนต่างๆ
แนวคิด-ปรัชญา
23
มิถุนายน
2566
นายปรีดี พนมยงค์ ได้มีข้อเขียนแสดงความเป็นมาของการเปลี่ยนแปลงการปกครองหรือการอภิวัฒน์สยามเมื่อคราว 24 มิถุนายน 2475 ซึ่งอาจกล่าวได้ว่าเป็นหลักฐานที่กล่าวแทนคณะราษฎร
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2566
อนุสรณ์รัฐธรรมนูญจังหวัดจันทบุรี ฉายภาพให้เห็นถึงความตื่นตัวและความสัมพันธ์ระหว่างราษฎรในท้องถิ่นกับระบอบใหม่ ตลอดจนวิเคราะห์รายละเอียดและคุณค่าทางสถาปัตยกรรมของอนุสาวรีย์แห่งนี้ซึ่งสะท้อนความทรงจำของการระบอบใหม่
แนวคิด-ปรัชญา
21
มิถุนายน
2566
ความคิด ความอ่าน และความเคลื่อนไหวของคนในระบอบเก่าก่อนระบอบประชาธิปไตยจะบรรลุผลสำเร็จ ความทุกข์ร้อนใจของประชาชนที่มีต่อปัญหาในทุกๆ มิติ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ตัวบทดังกล่าวชี้ให้เห็นพลวัตของการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง รวมไปถึงความคาดหวังของประชาชนในฐานะคนตัวเล็กๆ ในสังคมสยาม ณ ขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
มิถุนายน
2566
ระบอบประชาธิปไตยต้องชะงักงันจนเกิดสุญญากาศทางการเมือง 'พระยาพหลพลพยุหเสนา' ร่วมกับคณะราษฎรจำนวนหนึ่ง จึงคิดหาทางแก้ไขสถานการณ์เพื่อนำระบอบประชาธิปไตยกลับเข้าสู่หลักการตามรัฐธรรมนูญดังเดิม ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476 พร้อมเปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรในวันถัดมา
แนวคิด-ปรัชญา
19
มิถุนายน
2566
ระเบียบแบบแผนการปกครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งของรัฐบาลรวมศูนย์ของประเทศไทยครั้งยังอยู่ในการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 5 ที่มีการปรับปรุงระบบราชการ เรื่อยมาจนถึงรัชกาลที่ 7
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มิถุนายน
2566
เรื่องราวของ นายสงวน ตุลารักษ์ ในช่วงหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 ในฐานะสมาชิกคณะราษฎรปีกซ้ายซึ่งมีแนวคิดสังคมนิยม ทว่ากลับต้องเผชิญกับวิบากกรรมทางการเมืองด้วยข้อกล่าวหากระทำการอันเป็นคอมมิวนิสต์ เนื่องด้วยการเผยแพร่แนวคิดแบบสังคมนิยม
ชีวิต-ครอบครัว
17
มิถุนายน
2566
ความผันผวนในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 คนไทยรวมถึงครอบครัวของปลาย ต่างก็ได้รับผลกระทบจากมหาสงครามนี้เช่นกัน จักรวรรดิญี่ปุ่นกระทำการรุกรานประเทศไทย ‘บิดา’ ของปลาย จึงได้ตั้ง “ขบวนการเสรีไทย” เพื่อต่อต้านยับยั้งการกระทำของจักรวรรดิญี่ปุ่น