ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ข่าวสารและบทความ

เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
18
กรกฎาคม
2566
    ที่ สปพ. 045/2566 18 กรกฎาคม 2566 เรื่อง   จดหมายเปิดผนึกถึงประธานรัฐสภา กรณีสมาชิกวุฒิสภาอภิปรายพาดพิงถึงคณะราษฎรและประวัติศาสตร์ 2475 เรียน   ประธานรัฐสภา สิ่งที่ส่งมาด้วย เอกสารถ้อยคำในการอภิปรายของนายสมชาย แสวงการ สมาชิกวุฒิสภา ภาพประกอบการอภิปราย  
แนวคิด-ปรัชญา
17
กรกฎาคม
2566
ข้อเขียนชิ้นนี้ชี้แจงถึงรูปแบบของการปกครองสุขาภิบาลในประเด็นต่างๆ อาทิ ระเบียบการปกครองสุขาภิบาล กิจการของสุขาภิบาล การเงินของสุขาภิบาล และ คดีปกครองของสุขาภิบาล ในพระราชบัญญัติจัดการสุขาภิบาลตามหัวเมือง ร.ศ. 127 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติมใน พ.ศ. 2458
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2566
วันหนึ่ง มีเหตุการณ์ไม่คาดฝันเกิดขึ้น แม่ของปลายถูกตำรวจควบคุมตัวไป ดังเช่นที่พี่ชายของปลายถูกจับกุมเมื่อหลายวันก่อน ปลายจึงต้องตามแม่ไปด้วย คืนวันผ่านไปอย่างไร้อิสระ ปลายได้แต่ตั้งคำถามว่าทำไมแม่และพี่ชายจึงต้องมาถูกจับเช่นนี้
แนวคิด-ปรัชญา
15
กรกฎาคม
2566
ความเป็นเลิศของ ‘สุภา ศิริมานนท์’ ไม่ได้ถูกจำกัดไว้เพียงในบทบาทของบรรณาธิการที่ผลักดันหนังสือที่ตนดูแลให้มีคุณภาพที่สุด หากแต่ รวมไปถึงวิถีชีวิตที่ดิ้นรนต่อสู้กับภัยความมืดบอดจากเผด็จการเพื่อให้ได้มาซึ่งอิสรภาพทางความคิดของทั้งคนวงการหนังสือพิมพ์และสังคมไทย
บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2566
เมื่อพิจารณาถึงกฎหมายที่มีการบังคับใช้ในปัจจุบัน มีกฎหมายหลายฉบับด้วยกันที่สร้างภาระให้กับภาคประชาชน ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ ไม่ได้สร้างภาระให้กับประชาชนฝ่ายเดียว แต่ยังสร้างภาระให้กับหน่วยงานของรัฐด้วย รัฐบาลที่กำลังจะมีการจัดตั้งใหม่จึงสมควรจะยกเลิกกฎหมายที่เป็นอุปสรรคเหล่านี้โดยเร็ว
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
แนวคิด-ปรัชญา
11
กรกฎาคม
2566
ความเข้าใจที่แตกต่างของคนหลายรุ่นต่อรัฐสวัสดิการ” ทบทวนถึงความเข้าใจแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการของบุคคลในช่วงวัยต่างๆ เพื่อทำให้เห็นมุมมองว่าคนในแต่ละช่วงวัยมีมุมมองที่แตกต่างกันเช่นไร และด้วยเหตุอันใดบุคคลในแต่ละช่วงวัยถึงมีความเข้าใจที่แตกต่างกันเช่นนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2566
การแบ่งแยกอำนาจบริหารบางอย่างออกจากรัฐบาลกลางเพื่อให้ท้องถิ่นจัดทำเอง (มัธยวิภาค: Décentralisation) จะอยู่ในอำนาจของคณะบุคคลที่ราษฎรในท้องถิ่นนั้นๆ เลือกตั้งขึ้น โดยอาศัยระเบียบการปกครองท้องถิ่นที่อาจกระทำได้โดย (ก) การอนุญาตจากรัฐบาลกลางให้แก่ชุมนุมชนเป็นแห่งๆ มิใช่มีขึ้นตามสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นเอง และ (ข) การมีขึ้นโดยสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นๆ เอง