บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
16
พฤศจิกายน
2563
16 พฤศจิกายน 2471 เป็นวันแต่งงานของท่านผู้หญิงพูนศุขกับนายปรีดี พนมยงค์ หลังความผันผวนทางการเมืองในปี 2490 และ 2492 ทั้งสองคนต้องพลัดพรากจากกัน จนถึงปี 2496 ถึงได้กลับมาพบกันอีกครั้งหนึ่ง
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
15
พฤศจิกายน
2563
15 พฤศจิกายน 2495 ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถูกจับกุมตัวในข้อหา 'กบฏสันติภาพ'
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
พฤศจิกายน
2563
นายปรีดีเขียนขยายความไว้ด้วยว่า "ถ้าหนังสือเล่มนั้นยังอยู่ที่ทายาทท่านผู้นี้ ก็คงจะพบว่า หนังสือนั้นไม่มีปกหน้า เพราะข้าพเจ้าฉีกเผาไฟแล้วเพื่อความปลอดภัย"
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
13
พฤศจิกายน
2563
จุดเริ่มต้นของการก่อสร้างเริ่มตั้งแต่เมื่อใด ที่ดินเดิมเป็นของใคร เรือนไทยสองหลังในอนุสรณ์สถานมาจากไหน ร่วมหาคำตอบได้จากบทความของ 'ดุษฎี พนมยงค์'
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
พฤศจิกายน
2563
ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" หรือที่มักเรียกกันว่า กบฏวังหลวง เหตุใด "จึงมิใช่กบฏต่อชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
บทความ • บทสัมภาษณ์
11
พฤศจิกายน
2563
หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ ย้ายมาพำนักในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ พ.ศ. 2513 ก็มีฝ่ายปรปักษ์ของเขา รื้อฟื้นเรื่องราวต่าง ๆ มาโจมตีอย่างไม่ขาดสาย และนายปรีดีก็ฟ้องจนชนะในทุกคดีความ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
พฤศจิกายน
2563
อ่านชีวประวัติของนายเสริม วินิจฉัยกุล อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา เสรีไทย ซึ่งเคยเป็นผู้ช่วยจัดทำตำรา ม.ธ.ก. ต่อได้ที่บทความเรื่องนี้ของ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ'
บทความ • บทบาท-ผลงาน
9
พฤศจิกายน
2563
ค.ศ. 1956 เจ้านโรดม สีหนุ ได้พบกับนายปรีดี พนมยงค์ ที่กรุงปักกิ่ง หลังจากได้สนทนากันหลายต่อหลายเรื่อง ก่อนที่จะอําลาจากกัน เจ้านโรดม สีหนุ ในฐานะประมุขของรัฐกัมพูชาเอกราช ก็ได้กล่าวเชื้อเชิญนายปรีดี พนมยงค์ ให้ไปเยือนกัมพูชา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to บทความ
7
พฤศจิกายน
2563
“อย่ายิง! ที่นี่มีแต่ผู้หญิงกับเด็ก” คือ ประโยคที่ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ตะโกนร้องสวนเสียงปืนกลจากรถถังที่มายิงทำเนียบท่าช้าง กลางดึกวันที่ 7 ต่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2490