ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
17
กันยายน
2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ได้ประมวลแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดีไว้แล้ว ในบทความนี้
แนวคิด-ปรัชญา
16
กันยายน
2563
อ่านข้อเขียนของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ที่เรียบเรียงจากการปาฐกถาปรีดี พนมยงค์ ประจำปี 2559 หัวข้อ "สังคมที่เป็นประชาธิปไตย: คุณค่า ความหวัง"
บทบาท-ผลงาน
15
กันยายน
2563
ในเดือนสิงหาคม 2527 #สายฟ้า หรือ #นายผี อัศนี พลจันทร ได้เขียนบทความรำลึกการจากไปของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งนับได้ว่าเป็นงานเขียนชิ้นสุดท้ายของเขา สะท้อนความทรงจำของธรรมศาสตร์บัณฑิตผู้นี้ที่มีต่อผู้ประศาสน์การได้เป็นอย่างดี
แนวคิด-ปรัชญา
13
กันยายน
2563
คติธรรมเพื่อเป็นอนุสรณ์แก่ นายปาล พนมยงค์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวราลงกรณ
บทบาท-ผลงาน
12
กันยายน
2563
'ทองปราย พันแสง' กล่าวถึงรอยด่างทางประวัติศาสตร์ กับอุปทานคติการเมือง หลังการอสัญกรรมของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2526
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2563
ในบทความนี้ สุโข สุวรรณศิริ นำเสนอวิสัยทัศน์ 6 ด้านของนายปรีดี พนมยงค์ คือ ในการสร้างประชาธิปไตย ในทางเศรษฐกิจ ในด้านการศึกษา ในด้านธรรมะ ในเรื่องการคุ้มครองสิทธิของพลเมืองพลเมือง และในด้านการต่างประเทศและสันติภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2563
วาทะของปาล พนมยงค์ ในศาลอาญา ที่กล่าวกับท่านผู้หญิงพูนศุข ผู้เป็นมารดา เมื่อคราวที่เธอมาลาบุตรชาย ก่อนออกเดินทางไปประเทศจีน ในเดือนเมษายน 2496 ในระหว่างที่เขากำลังถูกดำเนินคดีในข้อหากบฏภายในและภายนอกราชอาณาจักร หรือที่รู้จักกันในนาม "กบฏสันติภาพ"
ชีวิต-ครอบครัว
9
กันยายน
2563
อ่านชีวประวัติอันผันผวนของนายปาล บุตรชายรัฐบุรุษอาวุโส พลทหารผู้กลายเป็นกบฏ ได้จากบทความของท่านผู้หญิงพูนศุขเรื่องนี้
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2563
กษิดิศ อนันทนาธร   ในห้วงบรรยากาศแห่งความร้อนแรงทางการเมืองของการ ‘รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์’ กับการ ‘ชังชาติ’  เราได้เห็นมวลอาณาราษฎรแสดงความจงรักภักดีอย่างแตกต่างกันออกไป บ้างจงรักอย่างห้อยโหน บ้างจงรักอย่างสุจริตใจ บ้างจงรักทักท้วงด้วยความปรารถนาดีที่จะให้สถาบันพระมหากษัตริย์สถิตสถาพร ยืนยงคงอยู่คู่กับระบอบประชาธิปไตยแห่งสยามรัฐสีมาตราบเท่ากัลปาวสาน
แนวคิด-ปรัชญา
7
กันยายน
2563
นายปรีดี พนมยงค์ เคยแปลคำว่า ULTRA-ROYALIST ไว้ว่า ผู้เกินกว่าราชา กล่าวคือ “ปากว่าเทอดทูลพระราชาธิบดี แต่ทำแสดงว่า นิยมราชาธิปไตยยิ่งกว่าองค์ราชาธิบดี” นายปรีดีเคยยกตัวอย่างกรณีที่เกิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศสว่า ระหว่าง ค.ศ. 1789-1875 ได้มี “ผู้เกินกว่าราชา” ทำการสงวนอำนาจศักดินาไว้มากกว่าที่องค์พระราชาธิบดีปรารถนา จนเป็นเหตุให้สถาบันพระมหากษัตริย์แห่งราชวงศ์บูร์บองต้องล้มไปใน ค.ศ. 1791  แม้พระราชวงศ์นั้นจะกลับมาครองราชบัลลังก์ได้อีกหลายครั้ง แต่สุดท้ายใน ค.ศ. 1875 ก็ปลาสนาการไปตราบจนปัจจุบันนี้
Subscribe to บทความ