บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
สิงหาคม
2563
สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อใด? ประเทศไทยเกี่ยวข้องอย่างไร? และมีสถานะใดในสงคราม? หาคำตอบได้จากแผนภาพอินโฟกราฟิกนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
13
สิงหาคม
2563
บทสนทนากับอาจารย์พรรณีในครั้งนี้ ช่วยให้เรามีโอกาสทบทวนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลของจักรวรรดิญี่ปุ่นเหนือประเทศไทยในมิติอื่นที่นอกเหนือไปจากเรื่องศึกสงคราม และเกมการเมือง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
สิงหาคม
2563
"จารุบุตร เรืองสุวรรณ" เล่าเรื่อง "นิทานเสรีไทย" กล่าวถึงเบื้องหลังการทำงานเสรีไทยของนายปรีดี พนมยงค์ จากตึกโดม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ตั้งแต่การติดต่อกับเสรีไทยในต่างประเทศ การติดต่อกับฝ่ายสัมพันธมิตร ไปจนถึงการเจรจาสถานะของประเทศไทยหลังสงคราม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
สิงหาคม
2563
บางส่วนจากทัศนะของ Lord Mountbatten ผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีต่อนายปรีดี พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง 24 มิถุนายน 2475 นายปรีดีในฐานะผู้นําคนหนึ่งของคณะราษฎรได้พยายามผลักดันให้หลัก 6 ประการของคณะราษฎรเป็นจริง มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองได้ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2477 ตามเจตนารมณ์หนึ่งในหลัก 6 ประการ ดังกล่าว คือ การที่จะให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
9
สิงหาคม
2563
ในบรรดาเสรีไทยสายอังกฤษที่เป็นทหาร นายป๋วย อึ๊งภากรณ์ ได้รับยกย่องทั้งอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการให้เป็นระดับหัวหน้าหรือระดับผู้นำคนหนึ่งของนักเรียนอังกฤษ ที่สมัครเข้าเป็นทหารในระหว่างสงครามโลกครั้งที่ 2 และนอกจาก พ.ต. เสนาะ นิลกำแหง (เนติบัณฑิตไทยปี 2470) ผู้มีโอวุโสแล้ว “ป๋วย อึ๊งภากรณ์” เป็นผู้เดียวที่ได้รับยศพันตรีแห่งกองทัพบกอังกฤษ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2563
ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีความพยายามถักทอจิตสํานึกในเรื่องชาติไว้เป็นฐานสําหรับค้ําจุนอํานาจความชอบธรรม ชาวไทยสมัยนั้นจึงถูกกระตุ้นเตือนอยู่ตลอดเวลาว่า ตนกําลังใช้ชีวิตอยู่ใน “ประเทศไทยใหม่” จึงต้องประพฤติตัวให้เป็น “ผู้มีอารยะ” เพื่อช่วยกันสร้างชาติให้ยิ่งใหญ่
บทความ • บทบาท-ผลงาน
7
สิงหาคม
2563
ในวาระครบรอบ 100 ปีแห่งการสิ้นพระชนม์ของพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ผู้ทรงได้รับการยกย่องเป็น "บิดาและองค์ปฐมาจารย์ของนักนิติศาสตร์แห่งประเทศไทย" จึงขอร่วมรำลึกถึงเสด็จในกรมพระองค์นั้น ผ่านบทความ "การยกเลิกสิทธิสภาพนอกอาณาเขต: จากกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ถึงนายปรีดี พนมยงค์"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
6
สิงหาคม
2563
เมื่อกรกฎาคม 2480 กระทรวงการต่างประเทศไทยได้พิมพ์เอกสารเล่มเล็ก ๆ เล่มหนึ่งเป็นภาษาฝรั่งเศสชื่อ ประเทศสยามผู้รักความสงบ และนโยบายการต่างประเทศของรัฐบาลสยาม (Le Siam Pacifiste et la Politique Etrangere du Gouvernement Siamois) เอกสารนี้มีคําอธิบายบนหน้าปกใน ลักษณะเป็นชื่อหลั่นรองว่า “ข้อความจากสุนทรพจน์และคําแถลงต่อหนังสือพิมพ์ของ ฯพณฯ หลวงประดิษฐ์มนูธรรม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศแห่งสยาม”
รายการสุนทรพจน์และคําแถลงที่เสนอในเอกสาร มีดังนี้