ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
สิงหาคม
2566
รางวัลละครเวทีและนาฏศิลป์ร่วมสมัยฯ ครั้งล่าสุดเมื่อปี 2566 นับเป็นอีกปรากฏการณ์หนึ่งที่กระตุ้นและดึงดูดผู้คนให้กลับมาสนใจอีกครั้ง เมื่อละครเวที เรื่อง “ART” ละครผอมซึ่งใช้ต้นทุนการแสดงต่ำ ในขณะที่เน้นการแสดงและตัวบทที่สำคัญเพื่อถ่ายทอดและมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ชม สามารถคว้ารางวัลถึง 4 รางวัลจากทั้งหมด
ชีวิต-ครอบครัว
19
สิงหาคม
2566
  ถึงคราวที่ปลายต้องไปโรงเรียนอีกแล้ว ปลายเข้าเป็นนักเรียนประจำของโรงเรียนสตรีเป่ยจิ๊งหนิ่วอิ๊จ๊ง[1] จากชื่อเด็กหญิงปลายมาเป็นชื่อ ปู้หวา ที่ครูจิ้นตั้งให้ กลัวว่าปลายจะไม่เข้าใจ ครูจิ้นหยิบตุ๊กตาผ้ามาให้ปลายดู
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
สิงหาคม
2566
อาคารพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ นับเป็นหนึ่งในอาคารที่มีความสำคัญกับสังคมไทยในฐานะสถานที่ซึ่งรวบรวมความทรงจำและบอกเล่าถึงความเป็นขบวนการเสรีไทยเพื่อการปลดปล่อยการยึดครองประเทศไทยของประเทศญี่ปุ่น และร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
แนวคิด-ปรัชญา
15
สิงหาคม
2566
ผู้เขียนได้สร้างกรอบความคิดและมุมมองการวิเคราะห์ถึงการจัดการความ ขัดแย้งและการสร้างสันติภาพในเมียนมาที่มีลักษณะที่ทั้งก้าวหน้า คงที่ และถดถอย ซึ่งมีความสลับซับซ้อนของตัวแปรที่ปรากฏในการเมืองของเมียนมาไว้เป็น 3 ส่วนหลัก เพื่อแนวทางต่อขบวนการสร้างสันติภาพในอนาคต
ชีวิต-ครอบครัว
14
สิงหาคม
2566
หลังจากที่ปลายและแม่เดินทางมาถึงประเทศจีน พ่อก็ได้พาทั้งสองไปเที่ยวชมสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ โดยระหว่างนั่งรถเพื่อเดินทางไปยังบ้านที่พ่อพักอยู่ ปลายได้เห็นทัศนียภาพตามสองฝั่งข้างทางของบ้านเมือง
บทบาท-ผลงาน
13
สิงหาคม
2566
การหายสาบสูญของหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา พร้อมบุตรชาย และผู้ติดตามรวม 4 คน เมื่อ13 สิงหาคม 2497 เกิดขึ้นในช่วงของรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสงคราม ที่ใช้อำนาจปกครองแบบเผด็จการ โดยละเลยการรักษาเอกลักษณ์ของชาวมุสลิมผู้นับถือศาสนาอิสลาม ทั้งๆที่หะยีสุหลงมิใช่กบฎแบ่งแยกดินแดน
บทสัมภาษณ์
12
สิงหาคม
2566
คุณอุทัย พิมพ์ใจชน อดีตประธานรัฐสภาฯ ย้อนเล่าเรื่องราวเมื่อครั้งมีโอกาสได้เป็นหนึ่งในผู้ที่เดินทางไปรับอัฐิธาตุของรัฐบุรุษอาวุโสปรีดี พนมยงค์ ด้วยความศรัทธาในตัวท่านปรีดีทั้งในด้านแนวคิด และอีกทั้งคุณอุทัยยังเป็นศิษย์เก่ามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ที่ท่านปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ
แนวคิด-ปรัชญา
11
สิงหาคม
2566
กระบวนการปฏิรูปทางการเมืองและเศรษฐกิจของเมียนมาผ่านมุมมองและมิติระหว่างประเทศ ถึงบทบาทจากภายนอกเมียนมา ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาระบบอภิบาลประชาธิปไตย รวมไปถึงกระบวนการสันติภาพและการเจรจาปรองดอง จากบริบทระหว่างประเทศ โดยมีตัวแสดงภายนอกที่มีส่วนช่วยให้ได้รับประโยชน์จากประชาธิปไตยในที่สุด
แนวคิด-ปรัชญา
10
สิงหาคม
2566
ความคิดเพียงว่า ขบวนการเสรีไทยเป็นขบวนการต่อสู้เพื่อปกป้องหรือรักษาเอกราช ได้บดบังสาระสำคัญที่ซ่อนอยู่บางประการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุดมการณ์เพื่อสันติภาพ อธิปไตย และการฟื้นคืนประชาธิปไตย
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
Subscribe to บทความ