ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
6
เมษายน
2567
ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไทย เศรษฐกิจเป็นแบบดั้งเดิม ราษฎรส่วนใหญ่ยากจน ขาดความรู้ธุรกิจ ทุนกับการค้าตกอยู่ต่างชาติ รัฐไม่ส่งเสริมอุตสาหกรรมแต่เน้นเก็บภาษี ส่งผลกระจายรายได้ไม่เป็นธรรมและพัฒนาเศรษฐกิจล่าช้า
ชีวิต-ครอบครัว
6
เมษายน
2567
ความสัมพันธ์ของครูฉลบชลัยย์ พลางกูร กับท่านปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุขเป็นความสัมพันธ์ที่อบอุ่นและเต็มไปด้วยความรัก เป็นความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งและมีอิทธิพลต่อชีวิตในชีวิตครูฉลบชลัยย์
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475 โดยเหล่าผู้ก่อการที่รู้จักกันในนาม “คณะราษฎร” ได้เริ่มต้นจากแนวคิดของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดเห็นด้วยกับนายปรีดี พนมยงค์ จึงเกิดการดำเนินการชักชวนผู้ที่สนใจเข้าร่วมขบวนการ
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
เมษายน
2567
การรำลึกชีวประวัติบนความทรงของอาจารย์ธเนศ อาภรณ์สุวรรณที่ได้ประสบพบเจอกับครูองุ่น มาลิก ในช่วงเวลาหนึ่งของชีวิต พบว่าครูองุ่นได้เสียสละอุทิศตนเพื่อสร้างประโยชน์สู่สังคมตลอดมาจวบจนช่วงเวลาสุดท้ายของชีวิต
บทสัมภาษณ์
4
เมษายน
2567
PRIDI Interview ไอรีน นิตยวรรธนะ : นางเอกพระเจ้าช้างเผือก หนังไทยแห่งสันติภาพ ในบทสัมภาษณ์นี้พาไปพูดคุยกับคุณไอรีนถึงความทรงจำที่ได้ร่วมแสดงภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก รวมถึงความประทับใจที่ดีต่ออาจารย์ปรีดีและท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2567
เอกสารการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 แม้จะเรียกว่า "รัฐธรรมนูญ" แต่มุ่งเน้นการรวมอำนาจไว้ที่พระมหากษัตริย์และชนชั้นสูง สะท้อนลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มากกว่าระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเอกสารอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงเปลี่ยนผ่านได้ดียิ่งขึ้น
บทบาท-ผลงาน
1
เมษายน
2567
ประมวลรัษฎากรเป็นผลงานสำคัญของคณะราษฎร มุ่งปรับปรุงระบบภาษีให้เป็นธรรม ยกเลิกภาษีซ้ำซ้อน มีการเผยแพร่ความรู้แก่ประชาชน และมีการแก้ไขอย่างต่อเนื่องเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ลดความเหลื่อมล้ำ ตลอดระยะเวลา 85 ปี
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2567
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา คัดค้านโครงการเศรษฐกิจของคณะราษฎรและ ดร.ปรีดี พนมยงค์ จึงใช้วิธีควบคุมสภาด้วยการสั่งทหารเข้าตรวจค้นสมาชิก ซึ่งถือเป็นการล้ำรัฐธรรมนูญและข่มขู่สถาบันประชาธิปไตย สะท้อนความขัดแย้งรุนแรงในช่วงเปลี่ยนผ่านการปกครอง
บทบาท-ผลงาน
31
มีนาคม
2567
ปาฐกถา นี้รายงานถึงผลงานของรัฐบาลในช่วง 2 ปีหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ทั้งด้านกฎหมาย ความมั่นคง เศรษฐกิจ สิทธิเสรีภาพ และการศึกษา พร้อมเรียกร้องให้ประชาชนช่วยกันรักษารัฐธรรมนูญ เพื่อนำพาประเทศไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้อธิบายมูลเหตุและแรงจูงใจในการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 จากมุมมองของผู้ร่วมเหตุการณ์สำคัญในชุดบทความ "เบื้องหลังการปฏิวัติ" ซึ่งถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่สำคัญ
Subscribe to บทความ