ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2567
ในบันทึกนี้เป็นเรื่องราวที่ สุโข สุวรรณศิริ ได้กล่าวถึงความทรงจำของ “วิเชียร วัฒนคุณ“ เพื่อนสนิทในครั้งขณะศึกษาชั้นเตรียมปริญญา ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง ในแง่ของคุณงานความดี และหน้าที่การงาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2567
การก่อตั้งคณะราษฎรที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองการปกครองในปีพ.ศ. 2475 เริ่มต้นจากการรวมตัวของเหล่านักเรียนนอกที่มีแนวคิดที่ต้องการพัฒนาประเทศให้นำไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
19
มีนาคม
2567
การสร้างรัฐสวัสดิการ เป็นการสร้างจุดมุ่งหมายให้ยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง กลุ่มด้อยโอกาส กลุ่มผู้ยากไร้ ให้ดีขึ้น และสามารถเข้าถึงได้อย่างดี
แนวคิด-ปรัชญา
18
มีนาคม
2567
หลังจากที่มีการจัดตั้งราชบัณฑิตยสถาน (ราชบัณฑิตยสภา ในปัจจุบัน) และเปลี่ยนจากปทานุกรมเป็นพจนานุกรม จึงได้มีการนิยามคำว่า “ปฏิวัติ“ ซึ่งมีความหมายว่า การหมุนกลับ การผันแปรตามหลักมูล
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
มีนาคม
2567
บทความนี้ใช้การเดินทางด้วยรถราง เป็นสัญลักษณ์แทนช่วงเวลาหนึ่งในชีวิต ทั้งความหลังอันแสนหวานของความรัก และความสูญเสียที่ต้องผ่านพ้นไป สถานีปลายทางจึงเป็นสัญลักษณ์แทนจุดจบของช่วงเวลาหนึ่ง แต่ก็เป็นการเริ่มต้นใหม่พร้อมด้วยความหวังอีกด้วย
ชีวิต-ครอบครัว
16
มีนาคม
2567
ในห้วงของการเป็นนักศึกษาฝึกสอนของปลายนั้น ได้ถูกส่งไปฝึกหัดสอนที่โรงเรียนสตรีมัธยมหมายเลข 3 ณ กรุงปักกิ่ง ในรายวิชาวรรณคดีจีนโบราณ เพราะเป็นวิชาที่ชื่นชอบ จึงทำให้สามารถถ่ายทอดได้ดี
แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2567
ในวันที่ 27 มีนาคม 2513 ได้มีการอภิปรายการส่งเสริมการระดมทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม โดยอาจารย์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการยุติปัญหาที่เกิดขึ้นในการพัฒนาของอุตสาหกรรมของไทย
แนวคิด-ปรัชญา
13
มีนาคม
2567
การค้นคว้าทางวิทยาศาสตร์ นับว่าเป็นสิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งที่ช่วยยกระดับวงการอุตสาหกรรมให้มีความก้าวหน้าควบคู่กับการพาณิชยกรรม ซึ่งเป็นตัวขับเคลื่อนความเจริญของประเทศชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
มีนาคม
2567
สมชาย นีละไพจิต เป็นทนายความที่เสียสละ ทุ่มเท เพื่อส่วนรวมอย่างมาก โดยเฉพาะในการทำคดีต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับด้านสิทธิมนุษยชนภายใต้นามของ “สภาทนายความ“
แนวคิด-ปรัชญา
11
มีนาคม
2567
คำว่า “ปฏิวัติ”, “รัฐประหาร“, “วิวัฒน์“ และ”อภิวัฒน์” ในทางวิทยาศาสตร์สังคม มีฐานจากของศัพท์คำว่า “Revolution“ (เรฟโวลูชัน) ซึ่งหมายคำว่า การเปลี่ยนแปลงของวิวัฒนาการ
Subscribe to บทความ