ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2566
ย้อนอ่านประวัติศาสตร์การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งถือเป็นครั้งที่ถูกจารึกไว้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่สกปรกมากที่สุดของไทย อันเป็นการเลือกตั้งที่พบปัญหาการทุจริต เพื่อถอดบทเรียนการเมืองและหนทางการต่อสู้สำหรับเปลี่ยนแปลงประเทศไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2566
ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ บันทึกเรื่องราวบอกเล่ารัฐพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ ฉบับปี พ.ศ. 2489 พร้อมทั้งรายละเอียดบทบัญญัติสำคัญของรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว ซึ่งถือเป็นรัฐธรรมนูญที่มีความเป็นประชาธิปไตยมากที่สุดฉบับหนึ่ง นับตั้งแต่ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475
บทบาท-ผลงาน
9
พฤษภาคม
2566
“รัฐธรรมนูญของหลายประเทศนั้นให้บัญญัติข้อความที่เป็นหลักสำคัญว่าด้วยระบบการเมืองประชาธิปไตย อันเป็นโครงเบื้องบนของสังคม และสิทธิกับหน้าที่ประชาธิปไตยของพลเมืองให้ครบถ้วนสมบูรณ์โดยเขียนอย่างกะทัดรัดเพื่อเป็นแม่บทของกฎหมายทั้งหลาย มิใช่เขียนฟุ่มเฟือยเป็นระเบียบปลีกย่อยเสียเอง” 
วันนี้ในอดีต
9
พฤษภาคม
2566
พระราชพิธีพระราชทานรัฐธรรมนูญ โดย นายปรีดี พนมยงค์ นายกรัฐมนตรี นำรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย​  
ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทบาท-ผลงาน
7
พฤษภาคม
2566
ประมวลทรรศนะต่อเส้นทางชีวิตและคุณูปการของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านสายตาของ 'พระราชนันทมุนี' หรือ 'ท่านปัญญานันทภิกขุ' ซึ่งได้แสดงปาฐกถาธรรมไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อช่วงบ่ายของวันแรกที่อัฐิธาตุของรัฐบุรุษอาวุโสกลับสู่มาตุภูมิ ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2529
วันนี้ในอดีต
7
พฤษภาคม
2566
นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ถึงแก่อสัญกรรม ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 ต่อมาได้มีการเชิญอัฐิธาตุของท่านกลับสู่มาตุภูมิ ย่ำรุ่งวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529 มีประชาชนมารอต้อนรับที่สนามบินดอนเมืองอย่างเนืองแน่น โดยปราศจากรัฐพิธีรับรองใดๆ … นั่นคงเป็นเพราะอัฐิธาตุของนายปรีดี เป็นสัญลักษณ์ของสัจจะทางอุดมการณ์และจิตวิญญาณแห่งการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย ประดุจหอกข้างแคร่ที่คอยทิ่มตำสำนึกของชนชั้นปกครองเผด็จการทุกยุคทุกสมัย
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤษภาคม
2566
สมรภูมิเดียนเบียนฟูยุทธภูมิสำคัญที่ชี้ชะตากรรมของชาติเวียดนาม กองกำลังเวียดมินห์เดินหมากอย่างมียุทธศาสตร์และกลยุทธ์ พร้อมกับได้รอบการสนับสนุนจากประเทศอื่นๆ รวมไปถึงชาวพื้นเมืองในเขตพื้นที่ดังกล่าว จนสามารถปักธงแห่งชัยชนะได้สำเร็จ กระทั่งนำไปสู่การประชุมเจนีวา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อหาข้อสรุปยุติความขัดแย้งและฟื้นคืนสันติภาพให้แก่ประเทศในอินโดจีน
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2566
ย้อนเส้นทางชีวิตของ จิตร ภูมิศักดิ์ โดยสังเขป พร้อมเรื่องราวความเชื่อมโยงระหว่างจิตร กับ นายปรีดี พนมยงค์ และ นายดิเรก ชัยนาม ด้วยเกร็ดเล็กๆ ทางประวัติศาสตร์ในกรณีนายดิเรกให้สัมภาษณ์ต่อสื่อถึงนายปรีดี ซึ่งแสดงให้เห็นถึงฝีไม้ลายมือของจิตรในฐานะนักหนังสือพิมพ์
แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤษภาคม
2566
สำรวจความเป็นมาขององค์กรอิสระซึ่งทำหน้าที่เป็นกรรมการในการเลือกตั้ง อย่าง "กกต." จากที่ควรจะล่องหนไร้ตัวตนเพื่อกำกับการเลือกตั้งให้เป็นไปโดยสุจริตเที่ยงธรรมอยู่หลังม่านการเมือง กลับกลายเป็นผู้มีบทบาทเด่นจนถูกมองว่าเป็น "ผู้เล่น" สำคัญคนหนึ่งในเกมการเมืองเบื้องหน้า
Subscribe to บทความ