ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
22
เมษายน
2566
เรื่องราวภายหลังการประกาศเอกราชของเวียดนามกับอุปสรรคที่ถาโถมรอบด้าน 'โฮจิมินห์' ในฐานะผู้นำของชาติได้ดำเนินการเจรจากับเจ้าอาณานิคมฝรั่งเศสเพื่อยืนยันว่าการมีเอกราชของเวียดนามนั้นถือเป็นหลักการสูงสุด ทว่าฝรั่งเศสยังคงบั่นทอนเอกราชของชาติเวียดนามด้วยสารพัดวิธีเท่าที่จะทำได้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
เมษายน
2566
ความแตกต่างระหว่างชนชั้น ระบบเศรษฐกิจที่ยึดโยงต่อการเมือง และโครงสร้างทางสังคม อันนำไปสู่ส่วนต่อขยายช่องว่างของความเหลื่อมล้ำให้ถ่างกว้างมากขึ้น โดยวิเคราะห์ผ่านวรรคทองของภาพยนตร์ที่ว่า “คนรวยไม่ได้กินเพื่ออิ่ม แต่กินเพื่อรักษาสถานะทางชนชั้นของตน” ซึ่งสะท้อนปรากฏการณ์บางอย่างที่เกิดขึ้นสังคมไทย
แนวคิด-ปรัชญา
20
เมษายน
2566
ผู้อ่านหลายท่านอาจคุ้นเคย "แลไปข้างหน้า" ในฐานะอมตะวรรณกรรมของศรีบูรพา แต่หากสืบสาวย้อนกลับไปจะพบว่า "แลไปข้างหน้า" ถูกใช้เป็นชื่อบทความซึ่งวิพากษ์วิจารณ์การเมืองทั้งฝ่ายรัฐบาลและฝ่ายค้านในช่วงปี พ.ศ. 2492 เพื่อมองไปยังอนาคตข้างหน้าของสังคมไทยด้วยความหวัง
บทบาท-ผลงาน
19
เมษายน
2566
ย้อนรอยฉากหลังทางประวัติศาสตร์และสาระสำคัญของ พ.ร.บ.ว่าด้วยการเลือกตั้งฯ ฉบับแรก ตลอดจนข้อวิจารณ์ของนายปรีดี โดยกล่าวถึงคำชี้แจงของที่มา ตั้งคำถาม และข้อสังเกตถึงการแก้ไข พ.ร.บ.ว่าด้วยการเลือกตั้งฯ พ.ศ. 2475 ต่อพระยามโนปกรณ์ฯ พร้อมด้วยถ้อยแถลง 18 ข้อ ซึ่งสะท้อนถึงการต่อสู้ในระบบรัฐสภาและยืนยันในหลักการระบอบประชาธิปไตยของนายปรีดี
แนวคิด-ปรัชญา
18
เมษายน
2566
สำรวจฐานคิดอันเป็นต้นกำเนิดของการเกณฑ์ทหาร ซึ่งถือเป็นกิจกรรมพื้นฐานของการสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ พร้อมด้วยข้อเสนอถึงความเป็นไปได้ที่ปรับเปลี่ยนไปสู่โมเดลคัดสรรด้วยความสมัครใจ และเงื่อนไขต่อการสร้างระบบอย่างมีประสิทธิภาพที่เหมาะสมต่อโครงสร้างทางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศ
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
เมษายน
2566
บอกเล่าบรรยากาศและสาระจากงานฉลองครบรอบ 90 ปีที่เวียนมาบรรจบของ 'ส. ศิวรักษ์' ปัญญาชนสยาม อันเป็นชีวิตที่มีโลกทัศน์ดำเนินไปพร้อมกับพลวัตทางสังคม ก่อร่างสร้างตัวตนให้บุรุษผู้นี้มีจุดยืนความคิดเป็นของตนเองมาตลอด 9 ทศวรรษที่ไหลเวียนอยู่ในสายธารของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
เมษายน
2566
สถานการณ์ในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นช่วงเวลาที่อิทธิพลของฝ่ายอักษะเริ่มเพลี่ยงพล้ำต่อฝ่ายสัมพันธมิตร การทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมาและนางาซากิกรุยทางนำไปสู่การอภิวัฒน์และการประกาศเอกราชของเวียดนามในที่สุด
บทบาท-ผลงาน
15
เมษายน
2566
ย้อนสัมผัสบรรยากาศเมื่อครั้งวันออกเดินทางไปยังประเทศฝรั่งเศสของนายปรีดีซึ่งปรากฏการเข้าร่วมของราษฎรทุกสาขาอาชีพ หนึ่งในนั้นได้แก่เหล่าศาสนิกชนผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ "กลุ่มลูกเสือแขก" แห่งโรงเรียนอัสสละฟียะฮ์วิทยาลัยก็เข้าร่วมเหตุการณ์สำคัญในวันนั้นด้วย
บทบาท-ผลงาน
14
เมษายน
2566
ย้อนรอยความเป็นมาของหมุดก่อกำเนิดรัฐธรรมนูญผ่านหลักฐานชิ้นใหม่ เพื่อทบทวนจุดเริ่มต้นของการริเริ่มให้สร้าง การออกแบบ และองค์กรที่เกี่ยวข้องในการจัดสร้าง ก่อนที่โลหะแผ่นนี้จะกลายเป็นที่จดจำในฐานะอนุสรณ์ทางการเมืองเพื่อระลึกถึงห้วงเวลาสำคัญแห่งการอภิวัฒน์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
ชีวิต-ครอบครัว
12
เมษายน
2566
เรื่องราวการถูกเนรเทศไปยังแดนไกลของนายปรีดีและความเป็นไปทางการเมืองในขณะนั้น โดยกล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ชีวิตของมันสมองคณะราษฎรผู้นี้ต้องระหกระเหิน พร้อมทั้งบรรยากาศในสังคมสยามเมื่อคราวที่นายปรีดีจะต้องออกเดินทางนั้นมาถึง
Subscribe to บทความ