บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • บทสัมภาษณ์
28
กันยายน
2567
บทสัมภาษณ์ครอบครัวของคุณสุพจน์ ด่านตระกูล เนื่องในวาระ 101 ปี ชาตกาล คุณสุพจน์ ด่านตระกูล เล่าถึงชีวิตและงานรวมทั้งความสัมพันธ์กับนายปรีดี ท่านผู้หญิงพูนศุข นายปาล และนายศุขปรีดา พนมยงค์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
28
กันยายน
2567
การอภิปรายในรัฐสภาสิ่งสำคัญของการอภิปรายคือ การแถลงและอภิปรายนโยบายของรัฐบาลในการปกครองประเทศนับว่าเป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์ที่แท้จริงของประชาชน แต่การสาบาลซ้ำของรัฐบาลในรัฐสภากลับเป็นการสร้างความไม่น่าเชื่อถือให้กับประชาชนในพื้นที่รัฐสภา
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
27
กันยายน
2567
วิมานหนาม ภาพยนตร์ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งภายในครอบครัวของการแย่งชิงที่ดินสวนทุเรียน แต่ภายใต้ความขัดแย้งนี้กลับสะท้อนถึงความไม่เท่าเทียมยุติธรรมทางสังคม เช่น พื้นที่อยู่อาศัย วัฒนธรรม เพศ และสถานะทางเศรษฐกิจ ที่ไม่ว่าใครก็ตามก็ได้รับความเจ็บปวดจากหนามทั้งนั้น
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
กันยายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วงกรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ นายปรีดี พนมยงค์ ได้โต้แย้งประเด็นการเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ก่อนเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2567
สุนทรพจน์ของรู้ธ หรือนายปรีดี พนมยงค์ และ 79 ปี พิธีสวนสนามของขบวนการเสรีไทย ในวันที่ 25 กันยายน พ.ศ. 2488 เป็นการยืนยันชัยชนะของประชาชนและขบวนการเสรีไทยหลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
25
กันยายน
2567
พิชัย เพ็ชรมะโนสัจจะ เขียนจดหมายถึงปรีดี พนมยงค์ ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส จำนวน 2 ฉบับในปี 2516 เกี่ยวกับการตั้งบุตรชายของตนเองว่า ปรีดี และมีจดหมายตอบกลับจากปรีดีถึงพิชัย 1 ฉบับ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
24
กันยายน
2567
ปรีดีได้มองว่าระบบทุนนั้นได้มีความเปลี่ยนแปลงไป จากการสังเกตพฤติกรรมของผู้คนชาวฝรั่งเศสที่มีความต้องการซื้อแฟล๊ตเป็นจำนวนมาก จึงได้ตั้งข้อสงสัยหลายประการให้ลูก ๆ ได้ไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในด้านของเศรษฐกิจและเงินทุน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
23
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์เขียนจดหมายถึงนายประเสริฐ ปัทมสุคนธ์ อดีตเลขาธิการรัฐสภา เพื่อแสดงทัศนะและเสนอแนะต่อหนังสือรัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
22
กันยายน
2567
บทวิเคราะห์ทางวัฒนธรรมและเนื้อหาภาพยนตร์เรื่องวิมานหนาม (The Paradise of Thorns) ซึ่งประกอบด้วยประเด็นร่วมสมัยในสังคมไทยทั้งกฎหมายสมรสเท่าเทียม เพศสภาวะ ครอบครัวในชนบท และเศรษฐกิจในท้องถิ่นห่างไกลอย่างแหลมคม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
21
กันยายน
2567
บนหน้าหนังสือพิมพ์ต่างๆ มากมายในช่วงเวลานั้นเต็มไปด้วยข่าวสารการเมืองที่เกี่ยวกับความขัดแย้งทางการเมือง การแย่งชิงอำนาจ และการช่วงชิงพื้นที่สื่อของบรรดานักการเมือง ทั้งนี้การเมืองในรูปแบบดังกล่าวไม่ใช่การเมืองที่สร้างสรรค์ต่อประชาชน