ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

บทบาท-ผลงาน
14
กรกฎาคม
2566
‘สุวัฒน์ วรดิลก’ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ คือ หนึ่งในนักคิด นักเขียน และนักหนังสือพิมพ์คนสำคัญ ผู้อาศัยผลงานเขียนของตนเป็นสื่อถ่ายทอดอุดมการณ์ประชาธิปไตยในสังคมไทย ซึ่งนอกจาก ‘สุวัฒน์’ จะมีชื่อเสียงในด้านงานเขียนต่างๆ แล้ว บุคคลผู้นี้ยังมีความสนิทชิดเชื้อกับ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
13
กรกฎาคม
2566
เมื่อพิจารณาถึงกฎหมายที่มีการบังคับใช้ในปัจจุบัน มีกฎหมายหลายฉบับด้วยกันที่สร้างภาระให้กับภาคประชาชน ซึ่งกฎหมายเหล่านี้ ไม่ได้สร้างภาระให้กับประชาชนฝ่ายเดียว แต่ยังสร้างภาระให้กับหน่วยงานของรัฐด้วย รัฐบาลที่กำลังจะมีการจัดตั้งใหม่จึงสมควรจะยกเลิกกฎหมายที่เป็นอุปสรรคเหล่านี้โดยเร็ว
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
กรกฎาคม
2566
“An Imperial Sake Cup and I” เป็นการแสดงในรูปแบบ Lecture Performance โดยมีอาจารย์ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เป็น “ตัวเอก” ของการแสดง ด้วยการทำหน้าที่เล่าเรื่องถ่ายทอดประวัติชีวิตของตนที่สัมพันธ์กับประวัติศาสตร์บ้านเมือง ผ่านถ้วยสาเกซึ่งได้รับพระราชทานจากสมเด็จพระจักรพรรดิอากิฮิโตะ
แนวคิด-ปรัชญา
11
กรกฎาคม
2566
ความเข้าใจที่แตกต่างของคนหลายรุ่นต่อรัฐสวัสดิการ” ทบทวนถึงความเข้าใจแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการของบุคคลในช่วงวัยต่างๆ เพื่อทำให้เห็นมุมมองว่าคนในแต่ละช่วงวัยมีมุมมองที่แตกต่างกันเช่นไร และด้วยเหตุอันใดบุคคลในแต่ละช่วงวัยถึงมีความเข้าใจที่แตกต่างกันเช่นนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
10
กรกฎาคม
2566
การแบ่งแยกอำนาจบริหารบางอย่างออกจากรัฐบาลกลางเพื่อให้ท้องถิ่นจัดทำเอง (มัธยวิภาค: Décentralisation) จะอยู่ในอำนาจของคณะบุคคลที่ราษฎรในท้องถิ่นนั้นๆ เลือกตั้งขึ้น โดยอาศัยระเบียบการปกครองท้องถิ่นที่อาจกระทำได้โดย (ก) การอนุญาตจากรัฐบาลกลางให้แก่ชุมนุมชนเป็นแห่งๆ มิใช่มีขึ้นตามสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นเอง และ (ข) การมีขึ้นโดยสภาพแห่งท้องถิ่นนั้นๆ เอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
กรกฎาคม
2566
ที่มาและการออกแบบของตึกโดม ซึ่งเป็นสัญลักษณ์หรือภาพแทนตัวของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์อย่างทุกวันนี้ และยังเป็นมรดกสำคัญของคณะราษฎรที่ส่งต่อมาให้อยู่คู่กับมหาวิทยาลัยแห่งนี้ มีกระบวนการออกแบบและเรื่องราวที่เกี่ยวข้องเช่นใด
ชีวิต-ครอบครัว
8
กรกฎาคม
2566
เสมือนว่าสถานการณ์ต่างๆ จะคลี่คลายและสงบลง แต่แล้วกลุ่มรัฐประหาร 2490 กลับต้องการล้มรัฐบาล จึงบุกมาที่บ้าน หวังจับพ่อของปลาย แต่ไม่สำเร็จ พ่อของปลายหลบหนีไปได้และลี้ภัยไปอยู่ต่างประเทศ ครอบครัวของปลายก็ต้องโยกย้ายถิ่นฐานด้วยเช่นกัน
แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2566
ภายใต้สถานการณ์ทางการเมืองในประเทศในแต่ละยุคสมัย การพยายามเปลี่ยนแปลงทางการเมืองไม่ว่าจะสำเร็จหรือไม่ก็ตาม ได้อาศัยการขับเคลื่อนของคณะบุคคลเป็นระยะๆ โดยความพยายามในอดีตได้สร้างแรงบันดาลใจต่อการพยายามในสมัยต่อมา
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2566
คำกล่าวประโยคหนึ่งที่ว่า “ประวัติศาสตร์สอนให้เรารู้ว่า เราไม่เรียนรู้อะไรจากประวัติศาสตร์เลย” จริงหรือไม่ คำอภิปรายต่อไปนี้เป็นการตอบคำถามดังกล่าว ที่แฝงไว้ด้วยความประสงค์ให้คนไทยพึงเรียนรู้สาระสำคัญของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
Subscribe to บทความ