บทความ
บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2567
เนื่องในวาระครบรอบ 119 ปี ชาตกาล 'ศาสตราจารย์ดิเรก ชัยนาม' จึงจะขอนำเสนอผลงานและแนวคิดสำคัญในแต่ละช่วงชีวิตดังต่อไปนี้ และไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมาก่อน อาทิ ข้อเสนอระงับกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในรายงานการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 6 วันที่ 14 ตุลาคม พุทธศักราช 2489 บทบาทในการก่อตั้งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรก พ.ศ. 2492 และปาฐกถาพุทธศาสนากับการปกครอง พ.ศ. 2499
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
มกราคม
2567
งบฯ กลาง เป็นเครื่องมือให้กับรัฐบาลในการใช้งบประมาณได้คล่องตัวในการดำเนินนโยบาย หรือสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนในรายจ่ายในอนาคต แต่ตลอดระยะ 10 ปีที่ผ่านมา รัฐบาลมีแนวโน้มที่จะตั้งงบฯ กลางเพิ่มสูงขึ้น ส่วนที่น่าจะมีปัญหามากที่สุดก็คือ งบประมาณรายจ่ายงบกลางรายการเงินสำรองฉุกเฉินหรือจำเป็น ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งรัฐบาลยังมีพฤติกรรมที่ใช้จ่ายงบฯ กลาง เป็นเครื่องมือสำคัญในการดำเนินนโยบาย ทั้งที่รัฐบาลสามารถตั้งส่วนนี้ได้ในรายการและแผนงานปกติ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบวันอนิจกรรมของ ศาสตราจารย์พิเศษ อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ นักวิชาการผู้วางรากฐานให้แก่กฎหมายมหาชนในประเทศไทย ขอเชิญชวนอ่านบทความทางกฎหมายจากผลงานทางวิชาการที่มีคุณูปการต่อวงการนิติศาสตร์ไทย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
13
มกราคม
2567
ปลายได้เล่าถึงประสบการณ์ที่เธอได้พบเจอและเรียนรู้มากมาย ไม่ว่าจะเป็นในด้านการศึกษา วัฒนธรรม และการเมือง
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
12
มกราคม
2567
เนื่องในโอกาสครบ 112 ปีชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ เชิญชวนอ่านบทสัมภาษณ์เรื่องราวชีวิตส่วนตัว ครอบครัว การใช้ชีวิตคู่หลังสมรสกับท่านปรีดี พนมยงค์ การทำงานของท่านอาจารย์ปรีดี
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
10
มกราคม
2567
การเพื่อสันติวิธี เป็นการปลดปล่อยผู้คนที่ถูกใช้ความรุนแรง การกดขี่ข่มเห่ง การถูกเอารัดเอาเปรียบ และการถูกกดขี่ข่มเหง จากการกระทำที่อยุติธรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
9
มกราคม
2567
วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมเป็นปัจจัยสองสิ่งที่นับว่าสำคัญในการพัฒนาศักยภาพในการผลิตสินค้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยเป็นผลให้ผลผลิตที่ออกมานั้นมีคุณภาพสูง ส่งผลดีต่อเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
8
มกราคม
2567
เงินคงคลังในอดีตที่เน้นการสะสมไว้ใช้ในระยะยาว ได้เปลี่ยนไปในสมัยปัจจุบันให้เป็นการมีเงินคงคลังเพื่อความสมดุลในการใช้จ่ายของรอยต่อระหว่างปี ดังนั้นในการใช้งบประมาณประจำปีที่บางครั้งอาจมีข้อติดขัด รัฐบาลจึงสามารถใช้เงินคงคลังที่มีอยู่มาแก้ข้อติดขัดหรือเสริมสภาพคล่องการใช้จ่ายของรัฐบาลได้
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
6
มกราคม
2567
ปลายเสียใจมากที่สูญเสียอันช่ากับหวงหวงไป เหตุการณ์นี้ทำให้ปลายเข้าใจถึงความสำคัญของความรักและความผูกพัน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to บทความ
5
มกราคม
2567
"อันว่าเงินคงคลังนั้นเป็นฉันใด" อธิบายถึงความหมายของเงินคงคลังตามทฤษฎีการคลังสาธารณะ, ความหมายของเงินคงคลังตามทฤษฎีการคลังสมัยเก่า, ความหมายของเงินคงคลังตามทฤษฎีการคลังสมัยใหม่ และ ความหมายของเงินคงคลังที่ใช้ในทางการคลังของประเทศไทย เป็นต้น