ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
10
ธันวาคม
2566
นำเสนอเรื่องราวตลอดชีวิตของปรีดี พนมยงค์ ที่ได้รับการหล่อหลอมและการก่อร่างความคิดทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์ที่ถ่ายทอดออกมาในรัฐธรรมนูญที่ปรีดี พนมยงค์มีส่วนสำคัญในการร่างออกมาทั้ง 3 ฉบับตั้งแต่อภิวัฒน์ 2475
ศิลปะ-วัฒนธรรม
9
ธันวาคม
2566
“มหกรรมศิลปะร่วมสมัยนานาชาติ เชียงราย” เป็นการนำศิลปินไทยและต่างชาติมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยมี Thailand Biennale เป็นตัวกลางของการแลกเปลี่ยนและผลักดันศิลปวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวของไทยบนพื้นที่จังหวัดเชียงรายที่ได้รับการกล่าวขานว่า “เมืองแห่งศิลปะ”
บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2566
พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว พุทธศักราช ๒๔๗๕ คือหนึ่งในผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ภายหลังการอภิวัฒน์สยามเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 2475 ได้เพียงสองคือวันที่ 27 มิถุนายน 2475 ก็ได้ประกาศใช้ธรรมนูญการปกครองฉบับ
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ธันวาคม
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เล็กน้อย ณ ห้วงยามที่กองกำลังญี่ปุ่นกำลังคืบคลานเข้าสู่คาบสมุทรมลายู ถึงบทบาทของคุณวิลาศ โอสถานนท์ในฐานะอธิบดีกรมโฆษณาการ นำเสนอในที่ประชุมประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม 2484
แนวคิด-ปรัชญา
6
ธันวาคม
2566
การเมืองของไทยที่เกิดปรากฏการร่วมมือของฟากฝั่งระหว่างพรรคฝ่ายขวาและฝ่ายซ้ายต่อการเสนอตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาหลักเกณฑ์และวิธีการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ 2560 อันเป็นความหวังใหม่ของการสร้างสรรคการเมืองใหม่?
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2566
เนื่องในวาระชาตกาล 114 ปี ‘เตียง ศิริขันธ์’ อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ย้อนพาผู้อ่านกลับไปหาเรื่องราวก่อนจะมาเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎร ผ่านเรื่องราวสมัยเรียนอักษรศาสตร์ การเป็นครู และถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์จากเรื่องราวของนางงาม
แนวคิด-ปรัชญา
4
ธันวาคม
2566
รัฐธรรมนูญของไทยนั้นมีความเฉพาะหรือพิเศษจากการประกาศยกเลิกและประกาศใช้ฉบับใหม่โดยคณะรัฐประหารที่เข้ามายึดอำนาจการปกครองอยู่บ่อยครั้ง หรืออาจกล่าวได้ว่ารัฐธรรมนูญไทยแต่ละฉบับมีอายุเฉลี่ยได้เพียง 4.5 ปีเท่านั้น เพราะมักจะถูกรัฐประหารทำให้เกิดการแก้ไข เพิ่มเติม และเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ
แนวคิด-ปรัชญา
3
ธันวาคม
2566
เล่าถึงชีวประวัติของท่านอาจารย์ ปรีดี พนมยงค์ ในบทบาทเมื่อครั้งเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี 2475 ในการพระราชทานรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยฉบับแรก นับแต่วันที่ 24 มิถุนายน 2475 ของคณะผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองในนาม “คณะราษฎร”
ชีวิต-ครอบครัว
2
ธันวาคม
2566
ปลายได้อ่านหนังสือโรบินสันครูโซ ที่สองพี่น้องโซญ่าชูราชอบอ่าน ตั้งแต่หน้าแรกจนหน้าสุดท้าย ปลายอ่านแบบวางหนังสือเล่มนี้ไม่ลง
แนวคิด-ปรัชญา
1
ธันวาคม
2566
นักสังคมผู้คิดเปลี่ยนแปลงจำต้องมีวิทยาศาสตร์และประณีตศิลปะทางสังคมเพื่อเข้าใจถึง “วิชชา” ซึ่งต้องอาศัย “สัมวุธิวิทยา” โดย นายปรีดี ขยายภาพของศาสตร์ที่เรียกว่า “สัมวุธิวิทยา” ซึ่งแปลจากคำว่า “Epistemology” หรือที่ในปัจจุบันเรียกว่า “ญาณวิทยา”
Subscribe to บทความ