ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ บอกเล่าเรื่องภายหลังจาก "ขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์" ต้องประสบกับความล้มเหลว รวมไปถึงท่าทีของจอมพล ป. พิบูลสงคราม ซึ่งได้แสดงทรรศนะต่อนายปรีดี พนมยงค์ และสถานการณ์ทางการเมืองในขณะนั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2566
อ่านบันทึกประวัติศาสตร์ของขบวนการประชาธิปไตย 26 กุมภาพันธ์ ผ่านผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ซึ่งแสดงให้เห็นลำดับเหตุการณ์ก่อน-หลัง เหตุแห่งการเกิด และหลักฐานเชิงประจักษ์ อันนำไปสู่การตอบโต้รัฐประหาร 2490 และทวงคืนระบอบประชาธิปไตยสมบูรณ์ให้แก่สังคมไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางของโฮจิมินห์ กับการปฏิบัติภารกิจในสยาม เมื่อโฮจิมินห์ถึงที่หมายอย่างปลอดภัย หลังจากนั้นเขาได้เดินทางต่อขึ้นมายังทางภาคเหนือและอีสานจนได้พบปะกับชาวเวียดนามโพ้นทะเล พร้อมทั้งทำงานเผยแพร่ความคิดเพื่อกอบกู้เอกราชและภารกิจจากองค์กรคอมมิวนิสต์สากล
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
กุมภาพันธ์
2566
กล้า สมุทวณิช เขียนถึงผลสืบเนื่องจากการรัฐประหาร 2534 ต่อประเด็นที่มาของตำแหน่งนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญไทย วิกฤติทางการเมืองในคราวนั้นถือเป็นฟางเส้นสุดท้ายที่ทำให้ประชาชนได้ตระหนักถึงคุณค่าความยึดโยงของตำแหน่งดังกล่าวต่อประชาชน จนนำไปสู่การสะสางปัญหาที่ยืดเยื้อซึ่งกินเวลายาวนานนับตั้งแต่ยุค 2500
แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2566
สุรชาติ บำรุงสุข ชวนค้นหานิยามของการรัฐประหาร พร้อมสำรวจปัจจัยรอบด้านที่มีอิทธิพล อันนำไปสู่การเปิดโอกาสให้เหล่านักรัฐประหารมักใช้เป็นข้ออ้างและเครื่องมือในภารกิจเข้าแทรกแซงทางการเมือง นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่าองคาพยพสำคัญใดบ้างที่จำแลงกายเป็นสะพานหรือแขนขาให้แก่ทรราชขับรถถังออกมาแย่งชิงอำนาจของประชาชน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
22
กุมภาพันธ์
2566
กวินพร เจริญศรี ชวนท่องไปกับท่องไปกับละครเวที "สมปรารถนา Whatever you'd like" กับเรื่องราวการไขว่คว้าความฝันและเอาตัวรอด มุ่งหน้าหาทางออกและเข้าร่วมการแข่งขันเกมที่จะพลิกชะตาชีวิตซึ่งมีรางวัลเดิมพันระหว่าง เงินจำนวนมหาศาล หรือ การเปิดโอกาสให้ผู้ชนะเลือกเดินจากไปมีชีวิตใหม่ในดินแดนอื่นตามที่ใจปรารถนา
แนวคิด-ปรัชญา
21
กุมภาพันธ์
2566
เอกชัย ไชยนุวัติ ชวนสำรวจนิยามของประชาธิปไตย รวมไปถึงหนทางสำหรับการต่อต้านระบอบเผด็จการ ผ่านการสถาปนาอำนาจอธิปไตย กล่าวคือ ฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร และ ฝ่ายตุลาการ อันมีหัวใจสำคัญที่ยึดโยงกับประชาชน ในฐานะเจ้าของอำนาจ ด้วยหลักการห่วงโซ่แห่งความชอบธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2566
ในบทความนี้ ชวนผู้อ่านร่วมค้นหาคำตอบของคำถามที่ว่า "ทำไมแนวทางสันติวิธีจึงเป็นสิ่งสำคัญในสนามการเมือง" โดยพิจารณาจากบทเรียนทางการเมืองและแนวทาง "สันติวิธี" (Nonviolent Action) ในฐานะเครื่องมือเพื่อโค่นล้มนักเผด็จการทั้งหลายที่กดขี่ข่มเหงประชาชน
บทบาท-ผลงาน
19
กุมภาพันธ์
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ชวนย้อนไปสู่การประชุมสภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ 5/2481 (สามัญ) สมัยที่ 2 ชุดที่ 3 ซึ่งปรากฏการตั้งกระทู้ถามตอบในกรณีการขายเงินเหรียญบาทออกนอกประเทศ ของ นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กุมภาพันธ์
2566
โฮจิมินห์กับชีวิตในสหภาพโซเวียต เขาอุทิศเวลาส่วนใหญ่ไปกับการศึกษาหาความรู้ทางทฤษฎีมาร์กซ์-เลนิน เมื่อได้เข้าทำงานที่องค์กรคอมมิวนิสต์สากล (Communist International / Comintern) โฮจิมินห์มีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนและถกปัญหาต่อประเด็นต่างๆ อยู่ตลอดเวลา
Subscribe to บทความ