ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

บทความ

บทความ เว็บไซต์สถาบันปรีดี พนมยงค์ PRIDI BANOMYONG INSTITUTE

แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2566
ภีรดา ชวนพิจารณาถึงฐานะทางประวัติศาสตร์ของการเลือกตั้งไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมือง โดยวิพากษ์และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันต่อพื้นที่อื่นๆ ในฟากฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นการท้าทายต่อองค์ความรู้เดิมของพัฒนาการสิทธิสตรีต่อการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
23
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ กล่าวถึงความเหลื่อมล้ำทางเพศที่เกิดขึ้นต่อสตรีและกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ พร้อมยกกรณีตัวอย่างซึ่งเป็นอุปสรรคที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการรองรับในทางกฎหมายที่ยังมีช่องว่างและไม่ทั่วถึงทุกๆ คน
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงนายปรีดี พนมยงค์กับความเป็นมาของสูทสีกรมท่าตัวโปรดอันเป็นภาพคุ้นตาตามที่ได้ถูกบันทึกไว้ในขณะที่นายปรีดีใช้ชีวิตและลี้ภัยทางการเมือง ณ ต่างแดน นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าพัฒนาการโดยย่อของประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายที่เกิดขึ้นในโลกตะวันตก ราวต้นศตวรรษที่ 19 ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของแฟชั่นชุดสูทแบบสากล
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2566
"ลุงโฮ" บอกเล่าเรื่องราวชีวประวัติในช่วงปฐมวัย อันเป็นชีวิตที่แวดล้อมไปด้วยปัจจัยรอบด้าน ทั้งสภาพสังคมที่แร้นแค้น ประกอบกับการขูดรีดทางชนชั้นจากเจ้าอาณานิคมที่เกิดขึ้นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ทำให้โฮจิมินห์เติบโตขึ้นมาท่ามกลางครอบครัวที่ต้องต่อสู้เพื่อความยุติธรรมในสังคม สิ่งต่างๆ นานัปการได้จุดประกายให้เด็กชายผู้นี้บ่มเพาะเจตนารมณ์ที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในสังคม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
20
มกราคม
2566
กวินพร เจริญศรี เขียนถึงภาพยนตร์แนวมนุษยนิยมโดยร้อยโยงกับการตั้งคำถามและค้นหาคำตอบต่อสัจธรรมแห่งชีวิตของมนุษย์ ซึ่งสัมพันธ์ผู้คนเข้าด้วยกันภายใต้ภาวะความเป็นสมัยใหม่ที่แวดล้อมไปด้วยพลวัตทางสังคมและการขับเคลื่อนอย่างไม่หยุดยั้ง
19
มกราคม
2566
ช่วงตอบคำถามของงานเสวนา PRIDI Talks #19: 111 ปี ชาตกาล ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ "สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศในรัฐธรรมนูญไทย" โดยเปิดให้วิทยากรได้ร่วมแสดงความคิดเห็นพร้อมเสนอทางออกกับโจทย์ใหญ่ในประเด็น "ทำอย่างไรให้เกิดร่างรัฐธรรมนูญที่รับรองสิทธิเท่าเทียมทางเพศ" พร้อมทั้งคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในห้องประชุม
ชีวิต-ครอบครัว
19
มกราคม
2566
ความเป็นมาของเพลง "คนดีมีค่า" และ "แม่จ๋า" รวมไปถึงบทบาททางสังคมและบทบาทในฐานะแม่ของ 'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' และ 'คุณหญิงจันทนี สันตะบุตร' อีกทั้งความสัมพันธ์อันดีงามระหว่างสองครอบครัวซึ่งเป็นความผูกพันที่เอื้ออาทรต่อกัน ตลอดจนบทเรียนที่ได้ทิ้งไว้ให้แก่คนรุ่นหลังผ่านฉากและชีวิตของสตรีทั้งสอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศาตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เนื่องในวาระ 118 ปี ชาตกาล 18 มกราคม 2566 โดยกล่าวถึงชีวประวัติย่อและการทำงาน รวมไปถึงบทบาททางการเมืองเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 และการดำเนินงานในกิจการเสรีไทย
17
มกราคม
2566
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงปัญหาสำคัญในสังคมได้แก่การตีตราและจำกัดบทบาทต่อสตรี โดยยกกรณีตัวอย่างผ่านเรื่องราวภายในครอบครัว บุคคลรอบข้าง รวมไปถึงบทบาทในฐานะคนรุ่นใหม่ ผู้ออกมาเคลื่อนไหวทางการเมืองและเรียกร้องประชาธิปไตย รวมไปถึงพัฒนาการของการเคลื่อนไหวที่ขับเคลื่อนต่อประเด็นสิทธิผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
มกราคม
2566
เขมภัทร ทฤษฎิคุณ เขียนถึงการทำงานของ 'ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.อิสสระ นิติทัณฑ์ประภาศ' ในด้านกฎหมายงบประมาณและการคลัง โดยนำเสนอผ่านผลงาน ศ.ดร.อิสสระ ที่ได้สร้างไว้เมื่อครั้งมีชีวิตอยู่ ซึ่งสะท้อนการวิพากษ์วิจารณ์และการคานอำนาจของการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
Subscribe to บทความ